การประมาณค่าทางสถิติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง

เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย (ต่อ)
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
Sampling Distribution
การประมาณค่า (Estimation)
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities
Chapter 7: Point Estimation
Chapter 8: Interval Estimation
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Probability & Statistics
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประมาณค่าพารามิเตอร์และ ขนาดของตัวอย่าง
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์ (Standard Error of Estimate: SEE)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาการ บัญชี วิชาการบัญชีเบื้องต้น ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบสร้าง สถานการณ์จำลอง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประมาณค่าทางสถิติ 761 310 สถิติธุรกิจ บทที่ 3 การประมาณค่าทางสถิติ

1. ความหมายของการประมาณค่า การประมาณค่า คือ การประมาณค่าพารามิเตอร์ ( , p ) จากค่าสถิติ ( ) การประมาณค่าประกอบด้วย 1. ตัวประมาณค่า (Estimator) หมายถึง ค่าสถิติที่ใช้ในการประมาณค่าพารามิเตอร์ 2. ค่าประมาณ (Estimate) หมายถึง ค่าที่ประมาณได้

การประมาณค่าที่ดีควรจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ การประมาณค่าที่ดี หมายถึง ความสามารถในการประมาณค่าได้ใกล้เคียงมากที่สุดหรือค่าของตัวประมาณใกล้เคียงกับค่าประมาณมากที่สุด การประมาณค่าที่ดีควรจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ ไม่ลำเอียง (Unbiasedness) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) มีความคงที่ (Consistency) ความพอเพียง (Sufficiency)

2. ประเภทของการประมาณค่า การประมาณค่ามี 2 ประเภท คือ การประมาณค่าเป็นจุด (Point Estimate) การประมาณค่าเป็นช่วง (Interval Estimate)

2.1 การประมาณค่าเป็นจุด (Point Estimate) คือ การประมาณค่าพารามิเตอร์ด้วยค่าสถิติค่าใดค่าหนึ่งเพียงค่าเดียว (1.) ประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรจากค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง โดยที่จะประมาณค่าเฉลี่ยของประชากรได้ดีที่สุดจาก ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง

3. ประมาณค่าสัดส่วนของประชากร ( p ) ได้จากสัดส่วนของตัวอย่าง ( ) p 2. ประมาณค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) จากค่าความแปรปรวนของกลุ่ม ตัวอย่าง ( ) และประมาณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร ( ) จาก ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง (S ) คือ S หา ได้จากสูตร = S = 3. ประมาณค่าสัดส่วนของประชากร ( p ) ได้จากสัดส่วนของตัวอย่าง ( ) p

2.2 การประมาณค่าเป็นช่วง (Interval Estimate) การประมาณค่าเป็นช่วง หมายถึง การประมาณค่าของพารามิเตอร์เป็นช่วงของคะแนน (range of values) เช่น ในการประมาณค่าอายุการใช้งานของแบตเตอรี่แทนที่จะประมาณอายุการใช้งานตามค่าเฉลี่ยของการใช้แบตเตอรี่ แต่ประมาณอายุเป็นช่วงจากค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (Standard error, ) ด้วย

หมายเหตุ การประมาณค่าแบบเป็นช่วงจะมีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าการประมาณค่าแบบค่าเดียว อย่างไรก็ตามการประมาณค่าแบบเป็นช่วงนี้จะขึ้นอยู่กับตัวสถิติที่ใช้ในการประมาณค่าแบบค่าเดียวและการแจกแจงของตัวสถิตินั้น

การประมาณค่าเป็นช่วงจากการหาช่วงความเชื่อมั่น คือ การหาช่วงความเชื่อมั่น (Confidence interval) ของพารามิเตอร์นั่นเอง ซึ่งหาได้จากสูตร ) = 1 - เมื่อ = พารามิเตอร์ที่ต้องการจะหาความเชื่อมั่น L = ขอบเขตล่างของความเชื่อมั่น U = ขอบเขตบนของช่วงความเชื่อมั่น 1 - = สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น ( = ระดับความผิดพลาด) (1 - )100% = ระดับความเชื่อมั่น โดยที่ = ขอบเขตล่างของความเชื่อมั่น = ขอบเขตบนของความเชื่อมั่น

แสดงได้โดยโค้งปกติ คือ หมายความว่า (1) ค่าประมาณจะอยู่ใน ด้วยความเชื่อมั่นที่ (1- ) 100% (2) โอกาสที่ค่าประมาณจะถูกต้องเท่ากับ 1- หรือร้อยละ (1- ) 100 และโอกาส ที่ค่าประมาณจะผิดพลาดเท่ากับ หรือร้อยละ x 100

กรณีที่ 1 ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) เป็นกรณีที่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สุ่มตัวอย่างจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ และหาค่าประมาณค่าเฉลี่ยเป็นช่วงได้จากค่า Z คือ = เมื่อ = ค่าประมาณของค่าเฉลี่ยประชากรเป็นช่วง = ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง Z = ค่า Z ที่เปิดได้จากตารางแจกแจงปกติ เมื่อ = โอกาสที่จะผิดพลาด เช่น 0.05 หรือร้อยละ 5 n = จำนวนตัวอย่าง โดยที่ = ขอบเขตล่างของความเชื่อมั่น = ขอบเขตบนของความเชื่อมั่น

กรณีที่ 2 ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร เป็นกรณีที่มีการสุ่มตัวอย่างจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ แต่ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร หาค่าประมาณค่าเฉลี่ยเป็นช่วงได้จากค่า t ของการแจกแจงแบบ t และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ = เมื่อ = ค่าประมาณของค่าเฉลี่ยประชากรเป็นช่วง = ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง t = ค่า t ที่เปิดได้จากตารางแจกแจงแบบ t มีองศาแห่งความเป็นอิสระ (df) เท่ากับ n – 1 = โอกาสที่จะผิดพลาด เช่น 0.05 หรือร้อยละ 5 n = จำนวนตัวอย่าง โดยที่ = ขอบเขตล่างของความเชื่อมั่น = ขอบเขตบนของความเชื่อมั่น

เมื่อ = ค่าประมาณของสัดส่วนประชากรเป็นช่วง = ค่าสัดส่วนของตัวอย่าง (3) การประมาณสัดส่วนประชากร สัดส่วนประชากรเป็นช่วงประมาณได้จากประชากรที่มีการแจกแจงแบบทวินาม (Binomial Distribution) และหากตัวอย่างมีขนาดใหญ่ก็จะหาค่าประมาณสัดส่วนประชากรแบบเป็นช่วงได้จากสูตร : = เมื่อ = ค่าประมาณของสัดส่วนประชากรเป็นช่วง = ค่าสัดส่วนของตัวอย่าง = โอกาสที่จะผิดพลาด เช่น 0.05 หรือร้อยละ 5 = 1-