ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
Advertisements

Adult Basic Life Support
ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
Global Warming.
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
Fuel cell Technology  เซลล์เชื้อเพลิง.
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
Thailand Research Expo
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
รู้จัก...ก๊าซหุงต้ม (LPG)...ให้มากขึ้น...
Myasthenia Gravis.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
“ หมวกอุ่นเกล้า ผ้าห่มอุ่นกาย”
เครื่องดูดฝุ่น.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
การบริหารยาทางฝอยละออง
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
สารมลพิษทางอากาศเบื้องต้น ที่ควรสนใจ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การเป็นลมและช็อก.
การชักและหอบ.
เจ็บแน่นหน้าอก.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การจัดการอุบัติภัยจากสารเคมี
แนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการความปลอดภัย
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ ประเมินผู้บาดเจ็บ ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ คุณหรือผู้บาดเจ็บได้รับอันตรายหรือไม่ ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวหรือไม่ ทางเดินหายใจเปิดและโล่งหรือไม่ ผู้บาดเจ็บหายใจหรือไม่ จับชีพจรได้หรือไม่ อันตราย ปฏิกิริยาตอบสนอง ทางเดินหายใจ การหายใจ การไหลเวียนเลือด

ปฏิบัติตามสิ่งที่ตรวจพบ ประเมินผู้บาดเจ็บ ปฏิบัติตามสิ่งที่ตรวจพบ ไม่รู้สึกตัว ไม่มีชีพจรหรือไม่หายใจ 1. ขอรถพยาบาล 2. เริ่มต้นช่วยหายใจ สลับกับการกดหน้าอก ไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจ แต่ยังมีชีพจร 1. ช่วยหายใจ 10 ครั้ง 2. ขอรถพยาบาล 3. ช่วยหายใจต่อไป ไม่รู้สึกตัว หายใจ และมีชีพจร 1. รักษาการบาดเจ็บที่เป็นอันตรายต่อชีวิต 2. จัดผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าพักฟื้น 3. ขอความช่วยเหลือ รู้สึกตัว หายใจ และมีชีพจร 1. รักษาตามความเหมาะสม 2. ขอความช่วยเหลือถ้าจำเป็น

ความผิดปกติของการหายใจ ภาวะที่ทำให้เกิดออกซิเจนในเลือดต่ำ ภาวะ สาเหตุ ออกซิเจนในลมหายใจเข้าไม่เพียงพอ สำลักควันหรือก๊าซ การเปลี่ยนความกดของบรรยากาศ เช่น ในระดับที่สูงหรือในเครื่องบินที่มีความกดอากาศต่ำ ทางเดินหายใจอุดตัน หายใจไม่ออกจากการอุดตันภายนอก เช่น หมอน หรือน้ำ (จมน้ำ) ทางเดินหายใจอุดตันหรือบวม ท่อหลอดลมถูกกด เช่น ถูกแขวนคอ หรือรัดคอ ภาวะที่มีผลต่อผนังหน้าอก ถูกกดทับ เช่น ถูกดินหรือทรายทับ หรือถูกฝูงชนตันหรือล้มทับ การบาดเจ็บของผนังหน้าอกที่มีกระดูกซี่โครงหัก หรือแผลไฟไหม้ที่หดรัด ปอดทำหน้าที่ไม่เต็มที่ การบาดเจ็บของปอด ปอดแฟบ การติดเชื้อของปอด เช่น ปอดบวม สมองหรือประสาทที่ควบคุมการหายใจเสียหาย การบาดเจ็บของศีรษะ ความผิดปกติของหลอดเลือดในสมองที่ทำให้ศูนย์ควบคมการหายใจทำงานไม่ได้ การได้รับสารพิษบางอย่าง เส้นประสาทที่ควบคุมกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจเป็นอัมพาต เช่น การบาดเจ็บของไขสันหลัง เนื้อเยื่อจับออกซิเจนไม่ได้ พิษก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ พิษจากไซยาไนด์

การสูดควัน ผลของการสูดควันที่มีอันตราย ก๊าซ แหล่งที่มา ผลกระทบ ควัน ไฟไหม้ : ควันจะมีออกซิเจนต่ำจากการเผาไหม้ และอาจจะมีควันพิษอื่น ๆ จากวัสดุที่ถูกเผาไหม้ด้วย ระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการเกร็งตัวและบวม เป็นผลทำให้หายใจเร็ว เสียงดังและลำบาก อาจไอและหายใจเสียงดังคล้ายนกหวีด ไม่รู้สึกตัว มีแผลไหม้รอบปากและจมูก คาร์บอนมอนอกไซด์ ไอเสียจากยานพาหนะ ควันจากไฟไหม้ จากปล่องไฟที่อุดตันและก๊าซเสียจากเครื่องทำความร้อนที่เสื่อมคุณภาพ ถ้าได้รับนาน ๆ อาจทำให้ปวดศีรษะ สับสน ก้าวร้าว คลื่นไส้ อาเจียน และกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ถ้าได้รับพิษทันทีอาจทำให้หายใจเร็ว ลำบาก ตัวเขียว ไม่ค่อยรู้สึกตัว และหมดสติอย่างรวดเร็ว คาร์บอนไดออกไซด์ มีแนวโน้มจะสะสมและเป็นอันตรายมากขึ้นในบริเวณที่ลึกและปิด เช่น ในหลุม บ่อ และถังใต้ดิน หายใจไม่ออก ปวดหัว  มึนงง และจะหมดสติอย่างรวดเร็ว สารระเหย กาวและน้ำยาทำความสะอาด ผู้ที่ติดมักใช้ถุงพลาสติกเก็บไอระเหยไว้ดม ปวดหัว อาเจียน มึนงง ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นหมดสติ เสียชีวิตจากหัวใจหยุดเต้น สำลักสิ่งที่อาเจียนออกมาหรือผู้ที่ติดสารระเหยอาจหายใจไม่ออกในถุงพลาสติก น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดเบา ก๊าซหุงต้มที่ใช้โพรเพนเป็นเชื้อเพลิง เมื่อออกจากถัง ก๊าซเหล่านี้จะเย็นมาก ถ้าสูดเข้าไปทำให้หัวใจหยุดเต้นได้