มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
อาหารหลัก 5 หมู่.
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
10 อันดับต้นไม้น่ารักประดับโต๊ะทำงาน
Lab 1. การเก็บตัวอย่าง และการจำแนกชนิดวัชพืช
พฤติกรรมการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ :Bactrocera dorsalis
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากสัตว์
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
บทที่ 4 สื่อบันทึกข้อมูล
Butterfly in Sakaerat forest
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
โครงงานเทคโนโลยี เรื่อง ขวดมหัศจรรย์พิชิตแมลงวัน
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
วิวัฒนาการของม้า.
วิวัฒนาการ ของแมลงวัน
มวนเพชรฆาต (Kissing bug, Assassin bug)
การปลูกพืชกลับหัว.
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
แตนเบียนไข่ไตรโครแกรมม่า Trichogramma spp.
หนอนหัวดำมะพร้าว Opisina arenosella Coconut black headed caterpillar
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
ข้อควรระวัง ! ในการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
สื่อการเรียนรู้เรื่อง หยุดโลกร้อนด้วยความพอเพียง
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ด้วงกว่าง.
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
ประเภทของมดน่ารู้.
การเพาะเลี้ยงแมลงห้ำ
Welcome to .. Predator’s Section
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล(Brown planthopper)
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal จัดทำโดย นางสาว พรกมล นนท์ศิริ มวนแดงนุ่น

มวนแดงนุ่น ชื่อวิทยาศาสตร์ : Odontopus nigricornis Stal ชื่อท้องถิ่น : ชื่อไทย: มวนแดงนุ่น ชื่อสามัญ : Kapok bug อันดับ : Hemiptera วงศ์ : Pyrrhocoridae

มวนแดงนุ่นจัดว่าเป็นแมลงที่สำคัญทางเศรษฐกิจ แมลงนี้กินอาหารโดยใช้ปากเจาะดูด มีปากแหลมคล้ายท่อ สามารถปักลงในพืชดูดใบน้ำเลี้ยง พืชจะทิ้งรอยแห้งตายไว้ตรงที่มันดูด มวนหลายชนิดมีสีสรรสวยงาม อาศัยได้ทั้งในดิน น้ำและตามตัวสัตว์ ไม่มีระยะดักแด้

รูปร่าง ลักษณะ ลักษณะ : ฟีเมอร์ของขาหน้ามีฟันเป็นหนามเล็กๆคล้ายฟันเลื่อย และมี หนามยาว 1 หรือ 2 อัน หนวดปล้องที่ 1 และ 2 ยาวไล่เลี่ยกัน ปล้องที่ 3 สั้นที่สุด สี : ลำตัวสีเหลืองปนน้ำตาลอ่อน สีเหลืองอ่อนปนแดง หรืออาจจะมีสีแดงก็ได้ อุปนิสัย : มวนแดงนุ่นมักปรากฏทีละมากๆเป็นครั้งคราว

พืชอาหาร: ดูดกินเมล็ดนุ่นเป็นส่วนใหญ่ พืชอาหารอย่างอื่นก็มีต้นสำโรง ผลและเมล็ดของไม้ป่าต่างๆ ความยืนยาวของชีวิต: ระยะไข่ 5-7 วัน, ระยะตัวอ่อน 1-1.5 เดือน ลอกคราบ 5 ครั้งจึงเป็นตัวเต็มวัย, ตัวเต็มวัยตัวเมียมีอายุนานประมาณ 1 เดือน

อุปกรณ์ กล่องเลี้ยงแมลง 2. เศษใบไม้จากธรรมชาติที่ไปเก็บมวนแดงนุ่นมา

3. กะหล่ำปลี 5. ขวดดองแมลง 6. ethyl alcohol 70% 4. ที่คีบ

วิธีการ 1. ทำความสะอาดกล่องเลี้ยงแมลงและอุปกรณ์ โดยการเช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70% 2. เก็บตัวอ่อนของมวนแดงนุ่นมาเลี้ยง 3. มีการลอกคราบในระยะตัวอ่อนเพื่อเจริญไปเป็นตัวเต็มวัย

4.เมื่อเลี้ยงได้ในแต่ละระยะก็จดบันทึกลักษณะ และเก็บบางส่วนดอง ใน ethyl alcohol 70%

5. ให้พืชอาหารพอสมควร ในที่นี้ เราใช้กะหล่ำปลีสด 6. เลี้ยงจนครบวงจรชีวิต แล้วจัดทำวงจรชีวิตลงในแผ่นโฟม

ปัญหาที่พบในการเลี้ยงแมลงและการแก้ไข 1. นำพืชอาหารจากตู้เย็นมาใส่ในกล่องเลี้ยงแมลง ทำให้เกิดไอน้ำ เกิดความชื้นขึ้นจึงส่งผลให้กล่องเลี้ยงแมลงดูสกปรก และอาจก่อให้เกิดโรคกับแมลงด้วย - ก่อนนำพืชอาหารมาให้ ควรทิ้งไว้ให้แห้งก่อน 2. เลี้ยงแมลงไว้ในที่อุณหภูมิต่ำเกินไป เช่น ห้องแอร์ทำให้แมลงตาย - นำไปเลี้ยงไว้ในอุณหภูมิปกติ หรือนอกบ้าน

3. เมื่อนำไปเลี้ยงไว้นอกบ้าน ก็มีมดมารบกวน หรือเวลามีแมลงในกล่องตายมดก็จะมากินซากนั้นแต่เท่าที่สังเกตแล้วมดไม่สร้างปัญหา หรือทำลายแมลงของเรา เพียงแค่สร้างความรำคาญให้เท่านั้น