คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

ความเค้นสัมผัส (contact stress)
บทที่ 8 Power Amplifiers
ห้องปฏิบัติการต่างๆ.
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การเลือกคุณภาพสินค้า
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
หินแปร (Metamorphic rocks)
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
Concrete Technology 12 Feb 2004
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
High Performance Concrete
การจำแนกประเภทอุบัติเหตุของไอแอลโอ
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
(Sensitivity Analysis)
การขนส่งผักและผลไม้.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
การเสนอผลงาน RID INNOVATION 2011
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
Lab 14: Unconfined Compression Test
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
Soil Mechanics Laboratory
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
PLANT CONCRETE คอนกรีตผสมเสร็จ.
การเสนอโครงการวิจัย.
เลื่อยมือ hack saw.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4031 (พ. ศ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 24 สิงหาคม 2552
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
Mold Design # 2 ส่วนประกอบของแม่พิมพ์
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
สมาชิกกลุ่ม 9 1. นางจริยา เอียบสกุล วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต
การตรวจวัดน้ำมันเชื้อเพลิง ณ คลังน้ำมันฯ
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
สำนักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน
ยางพอลิไอโซพรีน.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
ซ่อมเสียง.
ดินถล่ม.
การระเบิด Explosions.
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
863封面 ทองคำ เขียว.
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
การชั่งและตวง ครูปนัดดา เปียถนอม.
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete) 203332, Concrete Technology 18 December 2003

กำลังต้านทานคอนกรีต (Strength of Concrete) เป็นคุณสมบัติที่สำคัญอันดับต้นๆ กำลังต้านทานหรือรับแรงแบบอื่นๆของคอนกรีตล้วนเป็นสัดส่วนกับกำลังต้านทานแรงอัด (Compressive Strength) ของคอนกรีต กำลังต้านทานของคอนกรีตจะได้จากการทดสอบแท่งคอนกรีตตัวอย่างซึ่งกำลังต้านทานอาจมีค่าแตกต่างกันแม้จะมาจากวิธีการและส่วนผสมเดียวกันก็ตาม

กำลังต้านทานแรงอัด (Compressive Strength) เป็นตัวบอกให้ทราบคุณสมบัติอื่นๆได้เป็นอย่างดี คอนกรีตมีกำลังต้านทานต่อแรงอัดมากกว่ากำลังต้านทานแรงดึง (Tensile Strength) หลายเท่า ค่ากำลังต้านทานต่อแรงอัดนี้ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนผสมปริมาณน้ำ อายุ การบ่ม ตลอดจนรูปร่างและขนาดของแท่งทดสอบ

กำลังอัดของคอนกรีตขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการ กำลังของมอร์ต้า กำลังและโมดูลัสยืดหยุ่นของมวลรวม แรงยึดเหนี่ยวระหว่างมอร์ต้ากับผิวของมวลรวม

ปัจจัยที่มีผลต่อกำลัง คุณสมบัติของวัศดุที่ใช้ผสมคอนกรีต ปูนซีเมนต์ มวลรวม น้ำ

ปัจจัยที่มีผลต่อกำลัง การทำคอนกรีต การชั่งตวงส่วนผสม การผสมคอนกรีต การเทคอนกรีตเข้าแบบหล่อและการอัดแน่น

ปัจจัยที่มีผลต่อกำลัง การบ่มคอนกรีต ความชื้น อุณหภูมิ เวลาที่ใช้ในการบ่ม

ปัจจัยที่มีผลต่อกำลัง การทดสอบ ขนาดและลักษณะของแท่งทดสอบ วิธีการทำตัวอย่าง ความชื้นในแท่งทดสอบ อัตราการกด เครื่องทดสอบ

กำลังดึง (Tensile Strength) ความต้านทานในด้านรับแรงดึงของคอนกรีตมีค่าประมาณ 10% ของกำลังอัด การทราบค่ากำลังดึงจะช่วยในการควบคุมการแตกร้าวของคอนกรีต วิธีวัดค่าแรงดึงในคอนกรีตทำได้ 3 วิธีคือ Direct Tensile Test Flexural Strength Test Splitting Test

Splitting Test การทดสอบวิธีนี้ให้ค่าสม่ำเสมอดีกว่า 2 วิธีข้างต้น แต่ก็ไม่ได้ค่ากำลังที่แท้จริงเพราะบริเวณปลายทั้งสองจะเป็นบริเวณรับแรงอัด (Compression Zone) ค่าที่ได้จะสูงขึ้นกว่าแรงดึงจริงของคอนกรีตประมาณ 15%

แรงยึดเหนี่ยวต่อเหล็กเสริม (Bond Strength) ความต้านทานการลื่นไถลของเหล็กเสริมที่หล่ออยู่ภายในเนื้อคอนกรีตซึ่งเกิดจากการยึดติดกันกับซีเมนต์เพสต์ที่แข็งตัวแล้ว แรงยึดเหนี่ยวกับเหล็กเสริมในแนวนอนจะน้อยกว่าในแนวตั้ง เพราะน้ำที่เกิดจากการเยิ้ม (Bleeding) อาจไปเกาะอยู่ใต้เหล็กเสริมตามแนวนอนได้

กำลังกระแทก (Impact Strength) เช่นคอนกรีตสำหรับงานตอกเสาเข็ม ซึ่งต้องมีความสามารถที่จะทนต่อการกระแทกและดูดซับพลังงานได้เป็นอย่างดี ปัจจัยที่กระทบต่อกำลังกระแทก ชนิดของมวลรวมหยาบ ความชื้นของคอนกรีต ลักษณะของมวลรวม ปริมาณปูนซีเมนต์

การเจาะพื้นที่หรือโครงอาคาร (Core Boring Test) ในกรณีที่สงสัยในคุณภาพของคอนกรีต เส้นผ่านศูนย์กลางไม่ควรต่ำกว่า 10 ซม. และความสูงควรจะเป็น 2 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางโดยประมาณ

การทดสอบแบบไม่ทำลาย (Nondestructive Test) ไม่ได้ค่าที่แท้จริงแต่สามารถให้ค่าเฉลี่ยที่ใกล้เคียงในเกณฑ์ที่น่าพอใจ ค่าตัวเลขสะท้อนกลับ (Rebound Number) ทดสอบโดยเครื่องมือ Schmidt Hammer Ultrasonic Pulse Velocity การวัดทำโดยส่งสัญญาณผ่านคอนกรีต อ่านค่าความเร็วของคลื่น

การทดสอบการรับน้ำหนักของโครงสร้างจริง ในกรณีที่แท่งทดสอบให้กำลังต่ำกว่ากำหนดหรือเมื่อโครงสร้างบางส่วนหล่อไม่ถูกต้อง เมื่อมีเหตุเกิดขึ้น อาทิเช่นอาคารเกิดไฟไหม้ ทดสอบโดยกระทำในที่ทำโดยการวางน้ำหนัก ถ้าส่วนของโครงสร้างที่ทดสอบเกิดการอ่อนตัวมากเกินขนาดหรือเห็นว่าอาจเกิดการพังทลายก็ควรดัดแปลงโครงสร้างเสียใหม่หรือกำหนดอัตราน้ำหนักที่จะยอมให้รับได้ใหม่ให้ต่ำลงกว่าเดิม

คุณสมบัติยืดหยุ่นของคอนกรีต โมดูลัสยืดหยุ่น (Modulus of Elasticity) เป็นตัวบ่งถึงความต้านทานต่อการเสียรูปของวัศดุ โดยหาจากอัตราส่วนของหน่วยแรง(stress) ต่อหน่วยการหดตัว (strain) ซึ่งเกิดจากการกระทำของหน่วยแรงนั้น Initial Tangent Modulus Secant Modulus Tangent Modulus

การล้าของคอนกรีต (Creep) เป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของคอนกรีตที่ทำให้เกิดการเสียรูปถาวรเพิ่มมากขึ้นภายใต้น้ำหนักคงที่ ที่ถูกทิ้งให้กระทำค้างไว้เป็นเวลานาน ปัจจัยที่มีผลต่อความล้าของคอนกรีต น้ำหนักบรรทุกค้าง ความแข็งแรงของคอนกรีต ชนิดของปูนซีเมนต์ อัตราส่วนผสมของคอนกรีต วัศดุผสม การบ่ม อายุ่ของคอนกรีต

คุณสมบัติอื่นๆของคอนกรีต การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของคอนกรีต หน่วยน้ำหนักของคอนกรีต ปัวซองส์เรโช การนำความร้อนของคอนกรีต ความคงทน (Durability) ของคอนกรีต