การสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลผู้ป่วยเด็กและครอบครัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความเสียใจอันเนื่องจากเข้าใจผิด
Advertisements

ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แว่นแห่งชีวิต.
17/07/06 – ความรักที่ยิ่งใหญ่ 17/07/06 –
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
แม่กินน้อง วันหนึ่งสองแม่ลูกนั่งคุยกัน ลูกกำลังน่ารักพูดจาฉอเลาะ กำลังอยู่ในวัยอยากรู้ อยากเห็น เป็นเด็กฉลาด ขนาดอายุ 5-6 ขวบ แม่ก็กลัวลูกที่ซุกซนจะเหงา.
วิธีการผ่อนคลายความเครียด
จดหมาย ทารก ถึงมารดา.
นิทาน เรื่อง พ่อครัวกับผู้ช่วย
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
You Have Two Choices 1.
10 วิธี ดูแลลูกยุคไซเบอร์
Copyright © 2008 Tommy's Window. All Rights Reserved ♫ Turn on your speakers ♫ Turn on your speakers CLICK TO ADVANCE SLIDES.
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
สมมุติว่าขณะนี้เป็นเวลาประมาณหกโมงเย็นและคุณกำลังขับรถกลับบ้านคนเดียวหลังจากเสร็จสิ้นวันทำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย คุณรู้สึกเหนื่อยล้าและคับข้องใจเป็นอย่างมาก…
1 ลองคิดทบทวนถึง “การได้รับ” ครั้งสำคัญที่สุดในชีวิตของคุณ ซึ่งคุณจดจำได้มาจนถึงทุกวันนี้ว่า คุณได้ “รับอะไร”? คุณได้รับจากใคร? เมื่อใด? ยังจำความรู้สึกครั้งที่คุณได้รับไหม?
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
Patient Safety Walk Rounds :
ทีมสำรวจอวกาศ ทีมสำรวจอวกาศ: ภารกิจ! แผนการจัดการเรียนรู้ 1: ภารกิจ 1.
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
เรื่องราวที่เราส่งมาให้คุณนี้ ช่างงดงาม
ความแตกต่าง ระหว่าง คนจนกับคนรวย.
มีเรื่องดี ๆ อยากให้อ่าน
การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษามืออาชีพด้วยศาสตร์การให้คำปรึกษา
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
แนวทางในการพูดให้คำปรึกษา
สำนวนชวนคิด รุ่งรักษ์ นุ่มไทย.
ทุกอย่างย่อมมีสิ่งที่ดีกว่าเสมอ
จริยธรรมองค์กร.
Supportive Counseling How to support client’s emotion
หนังสือเล่มแรก Bookstart
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเตรียมชุมชน ก่อนพ่นสารเคมี
กรณีตัวอย่าง.
ผมมี..ภรรยา 4 คน.
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
น้ำตาของผู้หญิงคนหนึ่ง
CLICK TO ADVANCE SLIDES
รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า
เกี่ยวข้อง หรือไม่. PrevNext Exit วันหนึ่ง เจ้าหนูน้อย ซึ่งอาศัยอยู่ในฟาร์ม แอบเข้าไปในตู้อาหาร ที่ชาวนาและ เมียเปิดทิ้งไว้ มันตกใจอย่างสุดขีด เพราะพบว่าภายในกล่อง.
พี่ชายรับสารภาพฆ่าพ่อแม่น้อง
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
A good reminder... ♫ ♫.
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
Succsess story กลุ่มงานฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
สักวัน ฉันก็ต้องแก่(เหมือนกัน) ฉันก็คงจะ....
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นี่เป็นเรื่องของพี่น้องสองคน ที่อาศัยอยู่ อย่างกลมเกลียวกัน เป็นเวลาหลายปี เขาอาศัยอยู่ในฟาร์มคนละที่ แต่วันหนึ่ง...
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
“คำพูดคุณครู”.
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
กั บ ดั ก ห นู.
บทลงโทษด้วย ความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลผู้ป่วยเด็กและครอบครัว ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช การสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลผู้ป่วยเด็กและครอบครัว ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น

Breaking bad news (การแจ้งข่าวร้าย) Listening skills(ทักษะการฟัง) ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Breaking bad news (การแจ้งข่าวร้าย) Listening skills(ทักษะการฟัง) I &U massase(สารแบบ ฉัน&เธอ) Supportive communication(การสื่อสารให้กำลังใจ)

ท่านคิดว่าสาเหตุสำคัญของปัญหานี้คืออะไร? ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช ปุจฉา ท่านคิดว่าสาเหตุสำคัญของปัญหานี้คืออะไร?

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Emotion Response to “Loss” (Elisabeth Kubler-Ross,1969) Stage 1 : Shock , Denial Stage 2 : Anger Stage 3 : Bargain Stage 4 : Despair Stage 5 : Acceptance

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช การแจ้งข่าวร้าย “Breaking Bad News”

ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช สถานการณ์ มารดาพาบุตรชายอายุ 2 ปีมา admit ด้วยปัญหา pneumonia อยู่โรงพยาบาลได้สามวัน อาการดีขึ้นเล็กน้อยแต่ยังมีไข้อยู่ มารดาจำเป็นต้องกลับบ้านที่ต่างจังหวัด แต่ในคืนที่มารดากลับไปนั้น ผู้ป่วยมีอาการสำลักอย่างรุนแรงจนต้องย้ายเข้า ICU และใช้ เครื่องช่วยหายใจ มารดามาเยี่ยมบุตรที่หอผู้ป่วยตอนเช้าวันรุ่งขึ้นโดยไม่ทราบว่าบุตรย้ายไป ICUแล้ว มารดาแปลกใจเมื่อไม่พบบุตรที่เตียงเดิม จึงรีบมาถามท่าน ซึ่งขณะนั้นไม่มีแพทย์อยู่ที่หอผู้ป่วย

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step I : Getting started “ คุณแม่มาถึงนานแล้วหรือยังคะ? ” “ คุณแม่คงสัยว่าลูกย้ายไปอยู่เตียงไหนใช่ไหมคะ? ”

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step II: Finding out how much the patient knows “มีใครแจ้งให้คุณแม่ทราบเรื่องการย้ายเตียงบ้างหรือยังคะ?”

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step III : Finding out how much the patient wants to know “คุณแม่อยากทราบอะไรบ้างหรือคะ” “พยาบาลจะแจ้งข้อมูลให้ทราบ แต่ในรายละเอียด คุณหมอจะเป็นคนมาคุยกับคุณแม่เอง”

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Warning shot “เมื่อคืนมีอาการแทรกซ้อนบางอย่างค่ะ” เรื่องที่ต้องการจะบอก (Dx, Rx, Prognosis) “คุณหมอเลยให้ย้ายเด็กไปอยู่อีกหอผู้ป่วยหนึ่งที่มีอุปกรณ์ และการดูแลเพื่อการดูแลใกล้ชิดเป็นพิเศษ” ให้ข้อมูลทีละขั้น หยุดดูการตอบสนอง “เด็กมีเสมหะมาก ไอมาก ทำให้อาเจียนและสำลัก”

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step IV : Sharing the information * เรียบเรียงเหตุการณ์ตามลำดับ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย เริ่มจากจุดที่เขารู้ “พยาบาลได้ช่วยดูดเสมหะให้ คอยระวังไม่ให้สำลัก และคุณหมอได้ให้ยาแก้อาเจียน”

ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Sandwitch Technique “เพื่อความปลอดภัย คุณหมอต้องการสังเกตุอาการอย่างใกล้ชิด จึงย้ายลูกของคุณไปดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต” “ขณะนี้อาการมีแนวโน้มดีขึ้น หายใจหอบน้อยลง “ “แต่ยังคงใช้เครื่องช่วยหายใจอยู่เพื่อให้เด็กสบายขึ้น ใช้แรงน้อยลง”

End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step V : Responding to the patient’s feelings Identification Understanding

Shock อาการแสดง : โวยวาย อุทาน เงียบ สับสน ตัดสินใจไม่ได้ อาการแสดง : โวยวาย อุทาน เงียบ สับสน ตัดสินใจไม่ได้ ตัวอย่าง : แม่นั่งตะลึง เงียบ ไม่พูดอะไรเลย

1. คำถามปิด “คุณอยากให้หมอจองห้องผ่าตัด ให้เลยไหมครับ” 2. โกรธ “คุณไม่มีอะไรจะพูดเลยหรือครับ”

3.คำถามเปิด “คุณกำลังคิดอะไรอยู่หรือครับ” 4.เห็นใจ “มันคงทำให้คุณตกใจมาก”

Denial เป็นกลไกทางจิตปกติ : ควรยอมรับท่าที ให้เวลา เช่น เป็นกลไกทางจิตปกติ : ควรยอมรับท่าที ให้เวลา เช่น มารดา : “ หมอคงวินิจฉัยผิดแน่ๆ ”

1.คำถามปิด “คุณคิดว่าหมอวินิจฉัยผิดพลาด หรือครับ?” 2.โกรธ “โอ๊ย!ไม่มีทางหรอกครับ”

3.คำถามเปิด “อะไรทำให้คุณคิดว่าหมอจะ วินิจฉัยผิดหรือครับ?” 4.เห็นใจ “หมอก็ว่ามันยากที่จะยอมรับ เพราะอยู่ๆก็เป็นขึ้นมา”

Anger and Blame Classify the targets of anger ตัวอย่าง : “ หมอคนนี้บอกว่าลูกผม เป็นไข้หวัดธรรมดาถ้าลูกผม เป็นอะไรไป ผมจะฟ้องแน่ๆ ”

1.คำถามปิด “เค้าไม่ได้ตรวจร่างกาย ระบบประสาทเลยหรือ?” 2.โกรธ “นี่ คุณพ่อฟังนะ ถ้าคุณคิดจะฟ้องจริงๆ หมอก็คงช่วยอะไรคุณไม่ได้”

3.คำถามเปิด “ตอนนี้คุณรู้สึกอย่างไรครับ” 4.เห็นใจ “คุณรู้สึกไม่ดีที่หมอ วินิจฉัยผิดพลาดในตอนแรก”

Guilt Self-Blame ,Sorrow ตัวอย่าง : “ ถ้าดิฉันพามาเร็วกว่านี้ ตัวอย่าง : “ ถ้าดิฉันพามาเร็วกว่านี้ คงไม่เป็นอย่างนี้ ”

1.คำถามปิด “ลูกเป็นมากี่วันแล้วครับ” 2.โกรธ “คุณน่าจะพามาตั้งนานแล้วนะ”

3.คำถามเปิด “บอกหมอซิครับว่า คุณรู้สึกอย่างไร?” 4.เห็นใจ “มันคงเจ็บปวดมาก ถ้าคุณคิดว่าคุณเป็นสาเหตุ”