การสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลผู้ป่วยเด็กและครอบครัว ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช การสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลผู้ป่วยเด็กและครอบครัว ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น
Breaking bad news (การแจ้งข่าวร้าย) Listening skills(ทักษะการฟัง) ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Breaking bad news (การแจ้งข่าวร้าย) Listening skills(ทักษะการฟัง) I &U massase(สารแบบ ฉัน&เธอ) Supportive communication(การสื่อสารให้กำลังใจ)
ท่านคิดว่าสาเหตุสำคัญของปัญหานี้คืออะไร? ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช ปุจฉา ท่านคิดว่าสาเหตุสำคัญของปัญหานี้คืออะไร?
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Emotion Response to “Loss” (Elisabeth Kubler-Ross,1969) Stage 1 : Shock , Denial Stage 2 : Anger Stage 3 : Bargain Stage 4 : Despair Stage 5 : Acceptance
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช การแจ้งข่าวร้าย “Breaking Bad News”
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช สถานการณ์ มารดาพาบุตรชายอายุ 2 ปีมา admit ด้วยปัญหา pneumonia อยู่โรงพยาบาลได้สามวัน อาการดีขึ้นเล็กน้อยแต่ยังมีไข้อยู่ มารดาจำเป็นต้องกลับบ้านที่ต่างจังหวัด แต่ในคืนที่มารดากลับไปนั้น ผู้ป่วยมีอาการสำลักอย่างรุนแรงจนต้องย้ายเข้า ICU และใช้ เครื่องช่วยหายใจ มารดามาเยี่ยมบุตรที่หอผู้ป่วยตอนเช้าวันรุ่งขึ้นโดยไม่ทราบว่าบุตรย้ายไป ICUแล้ว มารดาแปลกใจเมื่อไม่พบบุตรที่เตียงเดิม จึงรีบมาถามท่าน ซึ่งขณะนั้นไม่มีแพทย์อยู่ที่หอผู้ป่วย
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step I : Getting started “ คุณแม่มาถึงนานแล้วหรือยังคะ? ” “ คุณแม่คงสัยว่าลูกย้ายไปอยู่เตียงไหนใช่ไหมคะ? ”
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step II: Finding out how much the patient knows “มีใครแจ้งให้คุณแม่ทราบเรื่องการย้ายเตียงบ้างหรือยังคะ?”
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step III : Finding out how much the patient wants to know “คุณแม่อยากทราบอะไรบ้างหรือคะ” “พยาบาลจะแจ้งข้อมูลให้ทราบ แต่ในรายละเอียด คุณหมอจะเป็นคนมาคุยกับคุณแม่เอง”
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Warning shot “เมื่อคืนมีอาการแทรกซ้อนบางอย่างค่ะ” เรื่องที่ต้องการจะบอก (Dx, Rx, Prognosis) “คุณหมอเลยให้ย้ายเด็กไปอยู่อีกหอผู้ป่วยหนึ่งที่มีอุปกรณ์ และการดูแลเพื่อการดูแลใกล้ชิดเป็นพิเศษ” ให้ข้อมูลทีละขั้น หยุดดูการตอบสนอง “เด็กมีเสมหะมาก ไอมาก ทำให้อาเจียนและสำลัก”
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step IV : Sharing the information * เรียบเรียงเหตุการณ์ตามลำดับ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย เริ่มจากจุดที่เขารู้ “พยาบาลได้ช่วยดูดเสมหะให้ คอยระวังไม่ให้สำลัก และคุณหมอได้ให้ยาแก้อาเจียน”
ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Sandwitch Technique “เพื่อความปลอดภัย คุณหมอต้องการสังเกตุอาการอย่างใกล้ชิด จึงย้ายลูกของคุณไปดูแลในหอผู้ป่วยวิกฤต” “ขณะนี้อาการมีแนวโน้มดีขึ้น หายใจหอบน้อยลง “ “แต่ยังคงใช้เครื่องช่วยหายใจอยู่เพื่อให้เด็กสบายขึ้น ใช้แรงน้อยลง”
End of Life Care for Critically ill Children ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก กุมารฯ ศิริราช Step V : Responding to the patient’s feelings Identification Understanding
Shock อาการแสดง : โวยวาย อุทาน เงียบ สับสน ตัดสินใจไม่ได้ อาการแสดง : โวยวาย อุทาน เงียบ สับสน ตัดสินใจไม่ได้ ตัวอย่าง : แม่นั่งตะลึง เงียบ ไม่พูดอะไรเลย
1. คำถามปิด “คุณอยากให้หมอจองห้องผ่าตัด ให้เลยไหมครับ” 2. โกรธ “คุณไม่มีอะไรจะพูดเลยหรือครับ”
3.คำถามเปิด “คุณกำลังคิดอะไรอยู่หรือครับ” 4.เห็นใจ “มันคงทำให้คุณตกใจมาก”
Denial เป็นกลไกทางจิตปกติ : ควรยอมรับท่าที ให้เวลา เช่น เป็นกลไกทางจิตปกติ : ควรยอมรับท่าที ให้เวลา เช่น มารดา : “ หมอคงวินิจฉัยผิดแน่ๆ ”
1.คำถามปิด “คุณคิดว่าหมอวินิจฉัยผิดพลาด หรือครับ?” 2.โกรธ “โอ๊ย!ไม่มีทางหรอกครับ”
3.คำถามเปิด “อะไรทำให้คุณคิดว่าหมอจะ วินิจฉัยผิดหรือครับ?” 4.เห็นใจ “หมอก็ว่ามันยากที่จะยอมรับ เพราะอยู่ๆก็เป็นขึ้นมา”
Anger and Blame Classify the targets of anger ตัวอย่าง : “ หมอคนนี้บอกว่าลูกผม เป็นไข้หวัดธรรมดาถ้าลูกผม เป็นอะไรไป ผมจะฟ้องแน่ๆ ”
1.คำถามปิด “เค้าไม่ได้ตรวจร่างกาย ระบบประสาทเลยหรือ?” 2.โกรธ “นี่ คุณพ่อฟังนะ ถ้าคุณคิดจะฟ้องจริงๆ หมอก็คงช่วยอะไรคุณไม่ได้”
3.คำถามเปิด “ตอนนี้คุณรู้สึกอย่างไรครับ” 4.เห็นใจ “คุณรู้สึกไม่ดีที่หมอ วินิจฉัยผิดพลาดในตอนแรก”
Guilt Self-Blame ,Sorrow ตัวอย่าง : “ ถ้าดิฉันพามาเร็วกว่านี้ ตัวอย่าง : “ ถ้าดิฉันพามาเร็วกว่านี้ คงไม่เป็นอย่างนี้ ”
1.คำถามปิด “ลูกเป็นมากี่วันแล้วครับ” 2.โกรธ “คุณน่าจะพามาตั้งนานแล้วนะ”
3.คำถามเปิด “บอกหมอซิครับว่า คุณรู้สึกอย่างไร?” 4.เห็นใจ “มันคงเจ็บปวดมาก ถ้าคุณคิดว่าคุณเป็นสาเหตุ”