Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก
Chloramphenicol กลไกการออกฤทธิ์
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
AMINOGLYCOSIDES เป็นยากลุ่มที่นิยมใช้น้อยกว่ากลุ่มเพนนิซิลลินเนื่องจากมีความเป็นพิษสูง แต่สามารถนำมาใช้ร่วมกับยาในกลุ่มเพนนิซิลลินทำให้สามารถออกฤทธิ์เพิ่มได้อย่างทวีคูณ.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ยากระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในบ่อซิเมนต์
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
โรคติดเชื้ออะมีบา บิดมีตัว พาหะ - แมลงวัน
หนอนพยาธิ (Helminth).
II. Chronic Debilitating diseases
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
Myasthenia Gravis.
ทางเลือกในการควบคุมยุงพาหะนำโรค
การให้วัคซีนพิษสุนัขบ้าในเวชปฏิบัติ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคสำคัญที่พบในการเลี้ยงไก่ฟ้า รศ. น. สพ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
กำมะถัน (Sulfur).
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Q Fever. Holly Deyo, URL:
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine ยากำจัดพยาธิตัวกลมมีหลายกลุ่มที่จะได้กล่าวถึงคือ 1. Piperazine อยู่ในรูปเกลือต่าง ๆ ที่ละลายน้ำได้ดี เช่น piperazine adipate, citrate, phosphate, sulfate, tartrate, hydrochloride ยาออกฤทธิ์โดยขึ้นอยู่กับ base ของยา คือ piperazine ยาดูดซึมได้ดีที่ทางเดินอาหาร (local effect) ถูกขับออกหมดภายในประมาณ 24 ชม.

piperazine กำจัดพยาธิโดยมีฤทธิ์ anticholinergic action ทำให้พยาธิเกิดการเป็นอัมพาต และพยาธิถูกขับออกโดยการบีบตัวของลำไส้ พยาธิบางตัวอาจกลับฟื้นตัวและมีชีวิตต่อในทางเดินอาหารได้ จัดเป็น narrow spectrum ออกฤทธิ์ต่อ พยาธิไส้เดือน *, พยาธิ เม็ดตุ่มในลำไส้ใหญ่ ยามีผลต่อตัวแก่มากกว่าพยาธิอายุน้อย พยาธิในระยะ larva ที่อยู่ในเนื้อเยื่อไม่ได้รับผลกระทบ ถ่ายพยาธิซ้ำหลังจากครั้งแรก 2 อาทิตย์ (สุนัขและแมว) และ 4 อาทิตย์ (สัตว์ฟาร์ม) ยามีพิษน้อย และยังไม่มีข้อห้ามใช้

ขนาดยา 45-65 mg/kg 110 mg/kg 32 mg/kg

2. Thiabendazole ดูดซึมได้ดีที่ทางเดินอาหาร systemic effect ขับออกจากร่างกายภายใน 3 วันหลังจากให้ยา ยามีฤทธิ์ไปรบกวน metabolic pathway ของพยาธิหลายชนิด แต่รบกวน host น้อย รบกวน fumarate reductase reaction ซึ่งเป็นขบวนการ anaerobic metabolism ของพยาธิต่างจาก host ซึ่งใช้อากาศ ดังนั้น thiabendazole จึงออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงกับปฏิกริยาของพยาธิ host จึงมีความต้านทานยาได้ดีมาก (มีพิษได้น้อย)

2. Thiabendazole (ต่อ) กำจัดพยาธิตัวกลมในทางเดินอาหารได้หลายชนิด ยามีผลต่อพยาธิตัวแก่ได้ดีมาก นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์ต่อพยาธิ ตัวอ่อนได้ดีอีกด้วย ยามีฤทธิ์ ovicidal activity ทำให้พยาธิหยุดสร้างไข่ ออกฤทธิ์ในการฆ่าตัวแก่, ตัวอ่อนที่ยังโตไม่เต็มที่ (อยู่ในลำไส้), ยับยั้งการ สร้างไข่และฆ่า larvae ที่ฟักจากไข่ (ในอุจจาระ) ช่วยให้เคลื่อนย้ายสัตว์ไปยังแปลงหญ้าสะอาดหลังถ่ายพยาธิได้ โดยไม่ต้องกังวล, ทำให้ลดอัตราการติดพยาธิลงได้ดี

2. Thiabendazole (ต่อ) ยาขับออกทางปัสสาวะและอุจจาระ ยาที่ขับออกทางอุจจาระสามารถฆ่า larvae ที่ฟักออกจากไข่ได้ ความปลอดภัยสูง 20 เท่าของขนาดปกติไม่ทำให้เกิดอาการข้างเคียง สัตว์ไม่แพ้แสง (ปล่อยทุ่งได้)

2. Thiabendazole (ต่อ) ขนาดยา โค 66 mg/kg 110 mg/kg กรณีติดพยาธิมาก ใช้น้อยในสัตว์ปีก

นอกจากนี้ยาในกลุ่ม Benzimidazoles อื่น ๆ เช่น mebendazole, albendazole, Oxfendazole, fenbendazole จะออกฤทธิ์ค่อนไปทาง broad spectrum คือนอกจากพยาธิตัวกลม, แล้วยังมีผลต่อพยาธิตัวตืด, และพยาธิใบไม้ตับ โดยต้องเพิ่ม dose ให้สูงขึ้น

3. Levamisole เป็น l-isomer ของ dl-tetramisole tetramisole S(-) tetramisole (l-tetramisol) มีฤทธิ์ในการกำจัดพยาธิ R(+) tetramisole (d-tetramisole) ไม่มีฤทธิ์ เมื่อให้ขนาดรักษามีฤทธิ์ทำให้พยาธิเกิดเป็นอัมพาตโดยกระตุ้น ganglia เมื่อให้ขนาดสูง จะยับยั้ง fumarate reductase

เมื่อให้กินมีการดูดซึมและขับออกได้อย่างรวดเร็ว local effect 40% ขับออกทางปัสสาวะใน 12 ชม., 41% ขับออกทางอุจจาระใน 12-24 ชม. และ 0-2% -ขับออกกับการหายใจใน 48 ชม. ยาอยู่ในรูป bolus, ยากรอก (drench) ยาผสมอาหาร (feed additive) ยาฉีด (s/c) และยาทา (dermal spot-on)

ยามีพิษทำให้ตายได้ โดยเฉพาะเมื่อให้โดยการฉีด lethal dose ของ tetramisole ในแกะคือ 90 mg/kg (6 เท่า) มักเกิดในกรณีฉีดยา แบบ spot-on ปลอดภัยที่สุด ยาฉีดระคายเคืองโดยเฉพาะวิธีฉีดเข้ากล้าม

ห้ามส่งโรงฆ่าภายใน 72 ชม. หลังใช้ยาในสุกร ห้ามส่งโรงฆ่าภายใน 7 วัน หลังใช้ยาใน โค แพะ แกะ ห้ามบริโภคนมภายใน 48 ชม. หลังใช้ยา (แต่ปกติไม่ใช้ในสัตว์ให้นมบริโภค) ขนาดยา โค แกะ แพะ สุกร 15 mg/kg tetramisole " 8 mg/kg levamisole

4. Ivermectin จัดเป็น broad spectrum anthelmintic คือ ออกฤทธิ์ต่อ nematode ทั้งภายในและภายนอกลำไส้ และต่อ ectoparasite นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์ antifungus ด้วย กลไกการออกฤทธิ์ คือ selective toxic effect ต่อระบบประสาทของพยาธิ อัมพาต ตาย safety index กว้างมาก ๆ ~ 200 เท่า การใช้ ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ขนาด 200 Ug/kg ห้ามใช้ ในสุนัขพันธุ์ Collie