ATM NETWORK.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

นำเสนอ เรื่อง x.25.
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ. ดร. กิตติ์ เธียรธโนปจัย อ. วาธิส ลีลาภัทร
การตรวจสอบ CRC บน ROUTER
บทที่11 Transmission Control Protocol(TCP) Connection
Enterprise Network Design
การสื่อสารข้อมูล.
Switching Network Circuit Switching/Packet Switching
Network Model แบบจำลอง OSI
เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น
บทที่ 6 สถาปัตยกรรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารทางไกลและเครือข่าย (Telecommunication And Networks)
Asynchronous Transfer Mode
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
องค์ประกอบของระบบ Internet
เครือข่าย LAN แบบ IEEE 802 IEEE 802.X Network
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ATM (Asynchronous Transfer Mode)
Digital Data Communication Technique
Sharing Communication Lines
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
Network Layer Protocal:
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
MAC Address. Short for Media Access Control address, a hardware address that uniquely identifies each node of a network. In IEEE 802 networks, the Data.
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
OSI MODEL.
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
TCP/IP.
บทที่ 2 แบบจำลอง OSI OSI Model.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ERROR (Data Link Layer)
CSC431 Computer Network System
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
Data Communication and Network
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Lab 1 – 2 Protocols Guideline.
ความรู้พื้นฐานการสื่อสารข้อมูล
05/04/60 Ethernet IEEE Copyrights by Ranet Co.,Ltd., All rights reserved.
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
บทที่ ๖ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เนต ( Computer Networks and the Internet ) ๑. ๑ อินเตอร์เน็ต หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติ ที่มีสาย ตรงเชื่อมต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงาน.
HTTP (Hyper Text Transfer Protocol )
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed เครือข่ายระยะไกล Wide Area.
สิ่งที่สำคัญในระบบปฏิบัติการของเราในวันนี้คงหนีไม่พ้นในเรื่องของ เครือข่าย หรือ Network network คืออะไร เครือข่ายมีไว้เพื่อสื่อ สารกันระหว่างคอมพิวเตอร์
Network Computer Made by Godsaider. สถาปัตยกรรมเครือข่าย มนุษย์ติดต่อสื่อสารกันได้นั้นเพราะใช้ภาษา เดียวกันในการติดต่อพูดคุยแต่ถ้าพูดกันคนละภาษาก็จะ ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ได้ประสิทธิภาพหรือไม่เข้าใจ.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
OSI Model Open System Interconnection. Open Systems Interconnection (OSI) จัดตั้งและกำหนดโดย องค์การกำหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ( International Standards.
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
แบบจำลอง OSI Model.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed การเชื่อมโยงเครือข่าย Making.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ATM NETWORK

การส่งและรับ cell ข้อมูล ATM Cell Structure AAL ATM Switch ATM reference model A T M การส่งและรับ cell ข้อมูล ATM V.S. OSI Connection Type ข้อดี ข้อเสีย ของ ATM

Time Division Multiplexing General About ATM เป็นการรวมกันของเทคโนโลยีที่รู้จักกันดี Packet Switching banwidth requirement resource allocation Time Division Multiplexing

ATM Feature General About ATM Fixed cell size Error & flow control Fixed cell size ทุก ๆ cell จะถูกส่งผ่านตามเส้นทาง virtual circuit ที่กำหนดไว้โดย ATM Switching IS Scalable and flexible ATM จะเป็นมาตรฐานที่มีการรวมเอาข้อมูล เสียง video และ data ส่งใน network เดียวกัน

ATM Cell Format

ATM Cell Header Format UNI NNI การ interface ดังกล่าวนี้มี 2 กลุ่ม คือ User-Network Interfaces (UNI) และ Network-Node Interfaces (NNI) UNI คือ interface ที่เกิดขึ้น ระหว่าง ATM endpoint และ ATM switch NNI คือ interface ระหว่าง เครือข่าย ATM สองเครือข่ายรวมถึง ระหว่าง ATM switch ใดๆ 2 ตัว UNI NNI

ATM Cell Header Format UNI Cell Structure NNI

BACK ATM Cell Header Format Cell Structure

ATM MODEL User Layer Adaptation Layer ATM Layer Physical Layer

ATM MODEL

ATM MODEL Physical Layer : เป็นข้อ กำหนดทางกายภาพ เกี่ยวกับตัวนำสัญญาณที่ ใช้ในการส่งสัญญาณดิจิตอล ATM Layer : ทำหน้าที่สร้างส่วน header ของเซลล์ และประมวลผลส่วน header ของเซลล์ที่รับเข้ามา

ATM MODEL ATM Adaptation Layer (AAL) : ทำหน้าที่ปรับบริการที่ได้รับจากชั้น ATM ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของโพรโตคอลและแอปพลิเคชั่น ในชั้น higher layer User Layer : เป็นชั้นของแอปพลิเคชั่น จากผู้ใช้ซึ่งจะวิ่งไปบนโครงสร้าง ของ ATM Model ด้านล่างอีกทีหนึ่ง

ATM Model V.S. OSI Model

ATM Adaptation Layer (AAL) 1. Convergence Sublayer (CS) ทำหน้าที่ในการสร้าง Protocol Data Unit (PDU) 2. Segmentation and Reassembly Sublayer(SAR) ทำหน้าที่แบ่ง PDU ออกเป็นเซลล์ที่เท่าๆกันและเติมหัวและท้ายของ SAR header ที่เติมเข้าไปใน SAR -PDU ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ คือ Type Sequence number Multiplexing identifier

ชนิดของ AAL AAL 1 มีขนาด payload 47 bytes ต่อ cell Sequence Number(SN) ใช้สำหรับตรวจจับเซลล์ที่สูญหายหรือเซลล์ที่อยู่ในลำดับไม่ถูกต้อง Sequence Number Protection(SNP) ใช้สำหรับตรวจสอบหมายเลขลำดับซึ่งใช้แก้ไขได้ในกรณีที่การผิดพลาดเกิดขึ้นเพียง 1 bit และใช้ตรวจสอบเมื่อมีการผิดพลาด 2 bit

AAL 2 payload มีขนาด 45 bytes ต่อ cell SN บอกลำดับของเซลล์เพื่อตรวจสอบเซลล์ที่สูญหายหรืออยู่ในลำดับที่ไม่ถูกต้อง Information Type (IT) บอกตำแหน่งข้อมูลที่อยู่ในเซลล์(ข้อมูลส่วนเริ่มต้น,ส่วนกลาง หรือส่วนท้าย) Length Indicator(LI)บอกขนาดของข้อมูลที่อยู่ในเซลล์นั้นๆ(0 ถึง 45 byte) Cyclic-Redundancy-Check (CRC)ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล SN IT 45-Byte payload LI CRC

AAL 3/4 Payload มีขนาด 44 bytes ต่อ cell Segment Type (ST) ใช้กำหนดขอบเขตของข่าวสาร Sequence Number (SN) บอกหมายเลขลำดับของเซลล์ MID บอกหมายเลขช่องการสื่อสารของเซลล์นั้นๆ Length Indicator (LI) บอกขนาดของข้อมูลที่อยู่ในเซลล์ CRC ใช้สำหรับตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

AAL 5 Payload มีขนาด 48 bytes ต่อ cell

CONNECTION TYPES Point-to-Point Point-to-Multipoint

ATM Switch Cells come in Cells are switched Cells go out 1. สวิตช์ต้องทิ้งเซลล์ให้น้อยที่สุด 2. ลำดับของเซลล์ที่ถูกส่งผ่าน virtual circuit หนึ่งต้องไม่ถูกเปลี่ยนแปลง เมื่อมีเซลล์เข้ามาหลายเซลล์พร้อมกันในหนึ่งรอบ และต้องการไปยังสายออกเดียวกัน ดังแสดงในรูป วิธีการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ คือ การให้มีบัฟเฟอร์ที่สายขาออกของสายสื่อสาร ดังแสดงในรูป Cells come in Cells are switched Cells go out Switching fabric

Cell destined Start for line 2 of cycle 1 Start of cycle 2 1 3 2 1 Start of cycle 3 Start of cycle 4 2 3

Start of cycle 1 Start of cycle 2 Start of cycle 3 1 3

ATM การส่งเซลล์ การรับเซลล์ การสร้างการติดต่อ

การส่งเซลล์ เมื่อมีข้อมูลถูกส่งมาจากโปรแกรมประยุกต์ ระดับชั้น ATM จะแบ่งข้อมูลออกเป็นเซลล์ โดยจะมีการปะเฮดเดอร์จำนวน 5 ไบต์ และส่งเซลล์ข้อมูลให้แก่ระดับชั้นย่อย TC ซึ่ง TC ก็จะทำการคำนวณผลรวมตรวจสอบของเฮดเดอร์ (HEC ; Header Error Control) ซึ่งการคำนวณผลรวมตรวจสอบของเฮดเดอร์ก็เพื่อป้องกันไม่ให้มีการส่งเซลล์ข้อมูลไปในทิศทางที่ผิดพลาด

การรับเซลล์ ในการรับเซลล์ข้อมูลนั้น ระดับชั้นย่อย TC จะทำหน้าที่รับสายของบิตข้อมูลเข้ามาตรวจหาขอบเขตของเซลล์ ตรวจเช็คความถูกต้องของเฮดเดอร์ แล้วส่งเซลล์ข้อมูลที่ถูกต้องให้แก่ระดับชั้น ATM

การสร้างการติดต่อ รูปแบบการส่งข้อมูล ATM เป็นแบบ connection-oriented กล่าวคือจะมีการสร้าง connection จากต้นทางถึงปลายทางกำหนดเส้นทางที่แน่นอนก่อน แล้วจึงเริ่มส่งข้อมูล เมื่อส่งข้อมูลเสร็จก็ปิด connection การสร้างการติดต่อทำได้หลายวิธี ติดต่อผ่านเวอร์ชวลพาทหมายเลข 0 เวอร์ชวลเซอร์กิจหมายเลข 5 สำเร็จแล้วสร้างการติดต่อกับปลายทางด้วยเวอร์ชวลเซอร์กิจหมายเลขใหม่

Adventage AND Disadventage

3.ใช้ได้กับข้อมูล ทุกรูปแบบ 4. พัฒนามาเพื่อการ ส่งข้อมูลทั้งใน ระยะใกล้(LAN) และไกล(WAN) 2. สามารถใช้ได้ ที่ ความถี่สูงมาก 1.สามารถทำงาน ร่วมกันได้แม้ อุปกรณ์จะ ต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐาน เดียวกัน 5.มีการ รับประกัน คุณภาพ การส่ง

อาจเกิดเซลล์ สูญหายจากการชนได้ Overhead ขั้นตอนซับซ้อน

จบแล้วจ้า By….. YING AAE BAS