BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting)
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Principles of Programming
ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure)
Data Type part.II.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
Structure.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
Lecture no. 6 Structure & Union
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
การประมวลผลสายอักขระ
การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน
Week 12 Engineering Problem 2
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
อาร์เรย์ (Arrays).
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Array 1. Array คือ 2 ตัวแปรชุด ( Arrays ) คือ กลุมของขอมูลที่มีชนิด ของขอมูลเหมือนกัน จึงทําการจัดกลุมไวดวยกัน แลวอางถึงดวยกลุมของขอมูลนั้นดวยชื่อ.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array) เรื่องที่เรียนวันนี้ อาร์เรย์ 1 มิติ อาร์เรย์ 1 มิติ + ฟังก์ชัน BC322 Computer Programming-Array Processing

Array คืออะไร Array หมายถึง กลุ่มของตัวแปรที่ถูกประกาศขึ้นมาใช้งาน โดยที่สมาชิกในกลุ่มทั้งหมด จะเป็นตัวแปรชนิดเดียวกัน สมาชิกในตัวแปรในกลุ่มทุกตัว จะมีชื่อเดียวกัน แต่การอ้างถึงสมาชิกแต่ละตัวจะใช้ เลขในการระบุตำแหน่ง (index) Array 1 มิติ Array Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing

การประกาศตัวแปร Array 1 มิติ รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนสมาชิก]; ตัวอย่าง int Age[10]; [0] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] Age BC322 Computer Programming-Array Processing

ความแตกต่างระหว่าง ตัวแปรอาร์เรย์กับตัวแปรธรรมดา เช่น ตัวแปร Age กับ Age[10] ตัวแปร Age เป็นตัวแปรธรรมดา ที่สามารถเก็บค่าตัวเลขได้ 1 ค่า ตัวแปร Age[10] เป็นตัวแปรชุด ที่สามารถเก็บค่าตัวเลขได้ 10 ค่า BC322 Computer Programming-Array Processing

จงประกาศตัวแปรอาร์เรย์ต่อไปนี้ เก็บส่วนสูงของนักศึกษา 50 คน เก็บปีพ.ศ.เกิดของเพื่อน 20 คน เก็บเงินเดือนของพนักงานบริษัท 100 คน (พนักงานมีเงินเดือนสูงสุดเป็นหลักแสน) BC322 Computer Programming-Array Processing

เปรียบเทียบการเก็บข้อมูลลงในตัวแปรอาร์เรย์กับตัวแปรแบบธรรมดา Ex1 เมื่อต้องการเก็บค่าอายุ 10 ของนักศึกษา 10 คน แบบตัวแปรArray แบบธรรมดา printf(“Enter age: “); scanf(“%d”, &Age1); scanf(“%d”, &Age2); scanf(“%d”, &Age3); scanf(“%d”, &Age4); … scanf(“%d”, &Age10); for(i=0; i<10; i++) { printf(“Enter age: “); scanf(“%d”, &Age[i]); } BC322 Computer Programming-Array Processing

การเก็บข้อมูลลงในตัวแปรอาร์เรย์ ผลรัน Enter age: 18 Enter age: 17 Enter age: 21 Enter age: 20 Enter age: 19 Enter age: 20 Enter age: 17 Enter age: 19 Enter age: 18 Enter age: 18 for(i=0; i<10; i++) { printf(“Enter age: “); scanf(“%d”, &Age[i]); } [0] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] 18 17 21 20 19 Age BC322 Computer Programming-Array Processing

การแสดงผลข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์ for(i=0; i<10; i++) { printf(“%d\n”, Age[i]); } BC322 Computer Programming-Array Processing

EX2 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าอายุนักศึกษาจำนวน 5 คน และแสดงผลอายุนักศึกษาพร้อมทั้งคำนวณหาค่าเฉลี่ย ผลการรัน Enter student age: 18 Enter student age: 17 Enter student age: 19 = = = = = = = = = = = Age of students 18 17 18 17 19 Average of student age is: 17.8 BC322 Computer Programming-Array Processing

EX3 โปรแกรมหาน้ำหนักนักศึกษาสูงสุด ในกลุ่มอายุนักศึกษาจำนวน 10 คน และแสดงผลน้ำหนัก ตัวอย่างผลรัน Enter student Weight1: 48.7 Enter student Weight2: 63.5 Enter student Weight3: 42.1 Enter student Weight4: 55.5 Enter student Weight5: 60.0 Enter student Weight6: 90.5 Enter student Weight7: 53.4 Enter student Weight8: 66.3 Enter student Weight9: 44.2 Enter student Weight10: 52.8 Maximum of student weight is: 90.5 kg. BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex4 จงเขียนโปรแกรมเพื่อคิดเกรดของนักศึกษา 5 คน โดยที่ รับคะแนนสอบเป็นเลขทศนิยม เก็บในตัวแปรอาร์เรย์ชื่อ Score คิดเกรดแต่ละคนเก็บในอาร์เรย์ชื่อ Grade โดยมีเงื่อนไขดังนี้ ถ้าได้ คะแนน 0-49 คะแนน ได้เกรด U คะแนน 50-100 คะแนน ได้เกรด S แสดงผลลัพธ์ของคะแนนและเกรดนักศึกษาแต่ละคน BC322 Computer Programming-Array Processing

ตัวอย่างผลรัน Input score1: 48.7 Input score2: 63.5 Input score3: 42.1 * * Result ** Student1 got grade U. Student2 got grade S. Student3 got grade U. Student4 got grade S. Student5 got grade S. BC322 Computer Programming-Array Processing

การใช้อาร์เรย์ 1 มิติ + ฟังก์ชัน BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex5 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าตัวเลข 5 ตัวและแสดงผลโดยกำหนดให้มีโปรแกรมย่อย ดังนี้ โปรแกรมย่อยชื่อ Inputdata ใช้สำหรับรับค่าตัวเลข 5 ตัวเก็บในอาร์เรย์ โปรแกรมย่อยชื่อ Displaydata ใช้สำหรับแสดงผลตัวเลข 5 ตัวทีเก็บอยู่ในอาร์เรย์ ตัวอย่างผลรัน Please enter number1: 7 Please enter number2: 10 Please enter number3: 4 Please enter number4: 9 Please enter number5: 17 ---------------------------- Number1 is 7 Number2 is 10 Number3 is 4 Number4 is 9 Number5 is 17 BC322 Computer Programming-Array Processing

#include<stdio.h> int i; void Inputdata(int n[]) { for(i=0;i<5;i++) printf("Please enter number%d : ",i+1); scanf("%d",&n[i]); } void Displaydata(int n[]) printf("Number%d is %d \n",i+1,n[i]); void main() int num[5]; Inputdata(num); printf("----------------------\n"); Displaydata(num); BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex6 จงเขียนโปรแกรมเพื่อคิดเงินให้กับลูกค้า 5 คน ที่มาซื้อสินค้า โดยมีโปรแกรมย่อยดังนี้ โปรแกรมย่อยชื่อ Customer สำหรับรับจำนวนสินค้า และราคาสินค้าเก็บในอาร์เรย์ amt,price พร้อมทั้งคำนวณยอดเงินรวมเก็บในอาร์เรย์ total โปรแกรมย่อยชื่อ Calculate คำนวณส่วนลด แล้วเก็บค่าในอาร์เรย์ Discount โดยมีเงื่อนไขในการคิดส่วนลดดังนี้ ยอดเงินรวม 0-199 บาท ลด 5 % ยอดเงินรวม 200-499 บาท ลด 10% ยอดเงินรวม ตั้งแต่ 500 บาท ลด 20% โปรแกรมย่อยชื่อ Payment เพื่อคิดยอดเงินที่ต้องชำระสุทธิ โดยเก็บค่าในอาร์เรย์ pay พร้อมทั้งแสดงผล BC322 Computer Programming-Array Processing

ตัวอย่างผลรัน แสดงผล รับค่า ** Customer report *** Please enter amount : 10 Please enter price : 15 = = = = = = = = = = = **Customer 2** Please enter amount : 2 Please enter price : 40 **Customer 3** Please enter amount : 500 Please enter price : 2 **Customer 4** Please enter amount : 200 Please enter price : 1 **Customer 5** Please enter amount : 300 ** Customer report *** Customer 1 must pay = 142.50 baht. Customer 2 must pay = 76.00 baht. Customer 3 must pay = 800.00 baht. Customer 4 must pay = 180.00 baht. Customer 5 must pay = 480.00 baht. แสดงผล รับค่า BC322 Computer Programming-Array Processing

Solution Ex6 #include<stdio.h> #include<conio.h> void Customer(int a[],float p[],float tot[]); void Calculate(float tot[],float d[]); void Payment(float tot[],float d[],float p[]) #define MAX 5 int i; void main() { int amt[5]; float price[5],discount[5],pay[5],total[5]; Customer(........................................................); Calculate(.........................................................); Payment(.........................................................); } BC322 Computer Programming-Array Processing

void Customer(..............................................................) { BC322 Computer Programming-Array Processing

void Calculate(..............................................................) { BC322 Computer Programming-Array Processing

void Payment(..................................................................) { BC322 Computer Programming-Array Processing