Bipolar Junction Transistor

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
5.3 สัญลักษณ์และความสัมพันธ์แรงดัน-กระแสของ MOSFET
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ที่เป็นผลต่างของกำลังสอง
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ซิลิคอน คอนโทรล สวิตช์ (SCS)
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
เจเฟต Junction Field-effect transistor
เอสซีอาร์ SCR.
มอสเฟท MOSFET.
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
Engineering Electronics อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม กลุ่ม 4
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
นาย วิภาสวิชญ์ ชัชเวช ปวช . 2 แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด แผนก อิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย เทคนิคมาบตาพุด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
การค้นในปริภูมิสถานะ
CHAPTER 18 BJT-TRANSISTORS.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Bipolar Junction Transistor บทที่ 4 Bipolar Junction Transistor 4.1 โครงสร้างทางกายภาพ 4.2 การทำงานเชิงกายภาพของ BJT ชนิด NPN 4.3 การทำงานเชิงกายภาพของ BJT ชนิด PNP 4.4 แบบจำลอง BJT 4.5 แบบจำลองสัญญาณขนาดเล็ก 4.6 RTL Logic Inverter 4.7 การใช้ BJT เป็นสวิตช์ขับกระแส 4.8 การใช้ BJT ในวงจรขยาย 4.9 การไบอัส BJT 4.10 วงจรขยาย BJT

ในบทที่แล้วเราศึกษาไดโอดซึ่งเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำสองขั้วต่อ Introduction ในบทที่แล้วเราศึกษาไดโอดซึ่งเป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำสองขั้วต่อ ในบทนี้เราจะศึกษาถึงอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำสามขั้วต่อ ซึ่งมีประโยชน์ใน การใช้งานมากมาย อาทิ การขยายสัญญาณ เป็นสวิตช์ และหน่วยความจำ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำสามขั้วต่อนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า "ทรานซิสเตอร์ (Transistor)" ทรานซิสเตอร์แบ่งออกเป็นสองชนิดใหญ่ๆ คือ ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolar Junction Transistors: BJTs) ทรานซิสเตอร์แบบเฟต (Field-Effect Transistors: FETs)

4.1 โครงสร้างทางกายภาพ

ตัวถังของทรานซิสเตอร์ TO-92 TO-3 TO-126 TO-5 TO-18 TO-220

การเชื่อมต่อตัวทรานซิสเตอร์มายังตัวถัง TO-92 ภาพตัดขวางของ die

สภาวะการทำงาน NPN PNP โดยทั่วไป VBE(on) ~ 0.6 - 0.7 V และ VBC(on) ~ 0.4 - 0.5 V

4.2 การทำงานเชิงกายภาพของทรานซิสเตอร์ชนิด NPN ย่าน cut-off ถ้ารอยต่อ BE และ BC อยู่ในสภาวะ off แล้วกระแสที่ไหลผ่านรอยต่อทั้งสองจะต่ำมากจนเราสามารถประมาณได้ว่า iB = iC = iE = 0 จะเห็นได้ว่าในย่านนี้ ขา C และ E จะเสมือนถูกตัดขาดออกจากกัน

ย่าน forward active

โดย IS คือกระแสอิ่มตัวซึ่งมีค่าผกผันกับความกว้างเบส โดยทั่วไป β ของ NPN ~ 100-250

ย่าน saturation ถ้ารอยต่อ BC อยู่ในสภาวะ on จะเกิดกระแส idiffไหลข้ามรอยต่อ BC ในทางเดียวกับกระแสเบสและไหลสวนทางกับกับกระแสคอลเลกเตอร์ ด้วยเหตุนี้เมื่อเทียบกับในย่าน forward active กระแสเบสในย่านอิ่มตัวจะมีค่าสูงขึ้นในขณะที่กระแสคอลเลกเตอร์จะมีค่าต่ำลง ส่งผลให้ iC/iB < β

เนื่องจากโดยทั่วไป VBE(on) ~ 0. 7 V และ VBC(on) ~ 0 เนื่องจากโดยทั่วไป VBE(on) ~ 0.7 V และ VBC(on) ~ 0.5 V ดังนั้นทรานซิสเตอร์จะเข้าสู่ย่านอิ่มตัวเมื่อแรงดัน VCE มีค่าต่ำกว่าประมาณ 0.2 V เพื่อความสะดวกเราจะเรียกแรงดันดังกล่าวนี้ว่า VCE(sat) โดยสำหรับ BJT แบบซิลิกอนจะมีค่า VCE(sat) อยู่ราว ๆ 0.1 – 0.3 V เพื่อเป็นการแสดงความแตกต่างระหว่างอัตราขยายกระแสในย่าน forward active และย่าน saturation เราจะเรียกอัตราขยายกระแส iC / iB ในย่านอิ่มตัวว่า βforced

4.3 การทำงานเชิงกายภาพของทรานซิสเตอร์ชนิด PNP ย่าน cut-off ถ้ารอยต่อ EB และ CB อยู่ในสภาวะ off แล้วกระแสที่ไหลผ่านรอยต่อทั้งสองจะต่ำมากจนเราสามารถประมาณได้ว่าในย่าน cut-off iB = iC = iE = 0 จะเห็นได้ว่าในย่านนี้ ขา C และ E จะเสมือนถูกตัดขาดออกจากกัน

ย่าน forward active

4.4 แบบจำลอง BJT ในย่าน forward active NPN PNP

ตัวอย่าง จงคำนวณหาแรงดันที่ขา B C และ E เมื่อกำหนดให้ทรานซิสเตอร์มีค่า β = 100 และ VCE(SAT) = 0.2 V ถ้า (a) VB = 4 V (b) VB = 6 V (c) VB = 0 V

การบ้าน จงหาช่วงของแรงดัน VB ที่ทำให้ BJT อยู่ในสภาวะ cut-off, forward active และ saturation

4.5 แบบจำลองสัญญาณขนาดเล็ก 4.5 แบบจำลองสัญญาณขนาดเล็ก NPN PNP

ทรานส์คอนดักแตนซ์ (transconductance) โดย small-signal transconductance Hybrid - pi model NPN PNP

Early’s Effect ในความเป็นจริงนอกจาก iC จะแปรผันตามแรงดันที่ตกคร่อมรอยต่อ BE แล้ว มันยังแปรผันตามแรงดันที่ตกคร่อมรอยต่อ BC อีกด้วย เมื่อแรงดันย้อนกลับที่ตกคร่อมรอยต่อ BC มีค่าเพิ่มขึ้น (นั่นคือแรงดัน vBC มีค่าสูงขึ้น) บริเวณปลอดพาหะรอบ ๆ รอยต่อดังกล่าวจะมีขนาดกว้างขึ้น ส่งผลให้ความกว้างเบสหดลงและ iC มีค่าสูงขึ้น เราเรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ว่าการผันแปรความกว้างเบส (base-width modulation) หรือปรากฏการณ์เออร์ลีย์ (Early effect)

Early’s Effect IC0

เมื่อต่อเส้นกราฟ iC ในสภาวะ forward active มาทางซ้าย เส้นกราฟทุกเส้นจะตัดแกนนอนที่จุด -VA

ic = gmvbe + govce โดย

การบ้าน แบบฝึกหัดบทที่ 4 ข้อ 10