ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ระบบจำนวนจริง(Real Number)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
การดำเนินการของลำดับ
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ลำดับโคชี (Cauchy Sequences).
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
Power Series Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
สับเซต ( Subset ) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ เรากล่าวว่า A เป็นสับเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ใช้สัญลักษณ์
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
แฟกทอเรียล (Factortial)
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
(Tiling Deficient Boards with Trominoes)
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
สวัสดี...ครับ.
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
โดเมนเละเรนจ์ของความสัมพันธ์
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก (Convergent Sequences and Divergent Sequences)

ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก (Convergent Sequences and Divergent Sequences) บทนิยาม 3.2.1 ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง ถ้า = L เรียก ว่าเป็น ลำดับลู่เข้า (convergent sequence) และ ลู่เข้าสู่ค่า L

ถ้า ไม่มีลิมิต เรียก ว่าเป็น ลำดับลู่ออก (divergentsequence) 1, , , , , . . . , , . . . เป็นลำดับที่ลู่เข้าสู่ 0 2, 2, 2, 2, …, 2, ... เป็นลำดับที่ลู่เข้าสู่ 2 เป็นลำดับที่ลู่เข้าสู่ 2

ไม่มีลิมิต 0, 2, 0, 2, …, 1 + (–1)n, ... ไม่มีลิมิต ทฤษฎีบท 3.2.2 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง และ เป็นลำดับลู่เข้า แล้ว จะลู่เข้าสู่ค่า หนึ่งค่าเดียวเท่านั้น

การพิสูจน์ สมมติให้ลำดับ ลู่เข้าสู่จำนวนจริงมากกว่า 1 ค่า ให้ = L และ = M โดยที่ L  M ดังนั้น | M – L | > 0 ให้  = | M – L | เนื่องจาก = L จะมีจำนวนเต็มบวก k1 ที่ทำให้ | sn – L | < | M – L | , n  k1

และเนื่องจาก = M จะมีจำนวนเต็มบวก k2 ที่ทำให้ | sn – M | < | M – L | , n  k2 ให้ k = max { k1, k2 } ดังนั้น | sn – L | < | M – L | , n  k และ | sn – M | < | M – L | , n  k

แต่ | M – L | = | M – sn + sn – L |  | sn – M | + | sn – L | < | M – L | + | M – L | , n  k ทำให้ | M – L | < | M – L | ซึ่งเป็นไปไม่ได้ นั่นคือ ลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งค่าเดียวเท่านั้น 

ทฤษฎีบท 3.2.3 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง และ ลู่เข้าสู่ L แล้วลำดับย่อยใดๆของ จะลู่เข้าสู่ L การพิสูจน์ ให้ เป็นลำดับย่อยของ โดยนิยามของลำดับย่อย จะได้ n1 < n2 < n3 < … < ni < … , ni , i ทำให้ ni  i , i

ดังนั้นทุก  > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ เนื่องจาก = L ดังนั้นทุก  > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | sn – L | <  , n  k เลือก k = nk  k สำหรับ i  k , ni  nk ทำให้ | – L | <  เมื่อ i  k นั้นคือ = L 

บทแทรก 3.2.4 ลำดับย่อยของลำดับที่ลู่เข้า ย่อมลู่เข้าสู่ค่าเดียวกัน การพิสูจน์ จากทฤษฎีบท 3.2.2 ลำดับ เป็นลำดับลู่เข้า ย่อมลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งค่าเดียวเท่านั้นและจากทฤษฎีบท 3.2.3 ลำดับย่อยของลำดับที่ลู่เข้าสู่ค่า L เป็นลำดับลู่เข้าสู่ค่า L นั่นคือ ลำดับย่อยของลำดับที่ลู่เข้า ย่อมลู่เข้าสู่ค่าเดียวกัน 

ตัวอย่าง 1 = มีลำดับย่อย คือ ลำดับ 1, 1, 1, … เป็นลำดับลู่เข้าสู่ 1 และ ลำดับ –1, –1, –1, … เป็นลำดับลู่เข้าสู่ –1 ดังนั้น เป็นลำดับลู่ออก 

บทนิยาม 3.2.5 ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง จะเรียกลำดับ ลู่ออกไปยังบวกอนันต์ (diverges to infinity ) เมื่อ n เข้าสู่  ก็ต่อเมื่อ สำหรับจำนวนจริงบวก M จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ sn > M สำหรับ n  k ลำดับ ลู่ออกสู่  อาจเขียนแทนด้วย =  (หรือ sn  เมื่อ n  )

ตัวอย่าง 2 กำหนด = ให้ M > 0 โดยสมบัติอาร์คีมิเดียน สามารถหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง k > M ทำให้ n > M , n  k นั่นคือ =  

บทนิยาม 3.2.6 ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง จะเรียกลำดับ ลู่ออกไปยังค่าลบอนันต์ (diverges to minus infinity –) เมื่อ n เข้าสู่  ก็ต่อเมื่อ สำหรับ จำนวนจริงบวก M จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง sn < –M สำหรับ n  k ลู่ออกสู่ – อาจเขียนแทนด้วย = – (หรือsn – เมื่อ n  )

ตัวอย่าง 3 กำหนด = ให้ M > 0 จากสมบัติอาร์คีมิเดียน สามารถหา จำนวนเต็มบวก k ซึ่ง k > M ดังนั้น –n  –k < –M , n  k นั้นคือ = – 

บทนิยาม 3.2.7 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง ลำดับ เป็นลำดับลู่ออก แต่ไม่ใช่ลำดับลู่ออกสู่ค่า อนันต์ หรือ ค่าลบอนันต์ จะเรียก ว่าเป็น ลำดับแกว่งกวัด (oscillating sequence)

ตัวอย่าง 4 (1) = –1, 1,–1, 1,–1, … เป็นลำดับแกว่งกวัด เพราะเป็นลำดับลู่ออก แต่ไม่ลู่เข้าสู่อนันต์ หรือลบอนันต์   (2) ลำดับ 1, 2, 1, 4, 1, 6, … เป็นลำดับแกว่งกวัด เพราะเป็นลำดับลู่ออก แต่ไม่ลู่เขาสู่อนันต์ หรือลบอนันต์ 

ลำดับที่มีขอบเขต บทนิยาม 3.2.8 ให้ เป็นลำดับจำนวนจริง บทนิยาม 3.2.8 ให้ เป็นลำดับจำนวนจริง (1) ลำดับ มี ขอบเขตบน เมื่อเรนจ์ของลำดับ มีขอบเขตบน (2) ลำดับ มี ขอบเขตบน เมื่อเรนจ์ของลำดับ มีขอบเขตล่าง (3) ลำดับ มี ขอบเขต ถ้ามีจำนวนจริงบวก M ซึ่งทำให้ | sn|  M, n

หรือ ลำดับ มีขอบเขต เมื่อเรนจ์ของลำดับ มีขอบเขตบน และขอบเขตล่าง

ทฤษฎีบท 3.2.9 ถ้า เป็นลำดับที่ลู่เข้า แล้ว เป็นลำดับที่มีขอบเขต การพิสูจน์ เนื่องจาก เป็นลำดับลู่เข้า ให้ = L ถ้าให้  = 1 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | sn – L | < 1 , n  k | | sn| – | L | |  | sn – L | < 1 , n  k | sn | < | L | + 1 , n  k

ให้ M = max { | s1 |, | s2 |, | s3 |, …, | sk–1 | } ทำให้ | sn | < M + | L | + 1 , n\ นั้นคือ เป็นลำดับที่มีขอบเขต 

บทกลับของทฤษฎีบท 3.2.9 ไม่จริง เพราะลำดับที่มีขอบเขต ไม่จำเป็นต้องเป็นลำดับลู่เข้า เช่น 1, –1, 1, –1, ..., (–1)n+1, ...