โภชนาการในคลินิก DPAC ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เมื่อกินอาหารเป็นยา จะไม่ต้องกินยาเป็นอาหาร
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
กินอย่างถูกหลัก ลดน้ำหนักอย่างถูกวิธี
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
อาหารหลัก 5 หมู่.
สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
การเตรียมความพร้อมนักกำหนดอาหารไทยสู่ประชาคมอาเซียน
Menu 7 - days miracle เมนู 7 วันอัศจรรย์.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
อ้วน อันตราย ใคร ใคร ก็รู้
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
เมนูชูสุขภาพ วิไลลักษณ์ ศรีสุระ นักโภชนาการชำนาญการ
การรับมือกับความเปลื่ยนแปลงด้านสุขภาพกายและจิตในวัยสูงอายุ
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
Part II - พลังงานจากสารอาหาร
ยุทธการสลายไขมันใน 10 วัน (10 Days Fat Burning Diet)
การลดน้ำหนัก สูตรสมเด็จพระเทพ
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ค่าดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI) ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
หัวจดเท้ารักษาเองได้ ก่อนไปหาหมอ
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
โดย กัณฐพิชชา สุดจันโท นักโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
เมนูภัตตาหารพระราชา คณะ วันคุ้มครองโลก 22 เมษายน 2555.
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
ปริมาณการกินผัก(12 ช้อนโต๊ะ ต่อวัน)
กินพอดีไม่มีพุง แม้งานจะยุ่งก็ทำได้
นางสาวนัทธมน สกุลรุ่งโรจน์วุฒิ รหัสนิสิต : กลุ่ม : 2115
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
กินเท่าไหร่ ถึงจะพอดี
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
โรคเบาหวาน Diabetes.
โรคหัวใจ.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Diet for Over Weight นพ.เทอดศักดิ์ เดชคง
Health Promotion for the Children
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โภชนาการในคลินิก DPAC ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี พัชรี วงศ์ษา ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

กินพอดี ไม่มีอ้วน

Body Mass Index (BMI) ค่าดัชนีมวลกาย ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่ คุณ หรือ ใคร ใคร เข้าข่ายอ้วนหรือไม่ Body Mass Index (BMI) ค่าดัชนีมวลกาย ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่ ค่าดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร) X ส่วนสูง (เมตร) สูตร

BMI น้อยกว่า 18.5 = ผอมไปหน่อย

โดยใช้สายวัดวัดผ่านสะดือ การวัดเส้นรอบเอว โดยใช้สายวัดวัดผ่านสะดือ ไม่เกิน 90 เซนติเมตร ไม่เกิน 80 เซนติเมตร

WHO ฟันธงว่า โรควิถีชีวิตเกิดจาก พฤติกรรม 2 ทาง บริโภคอาหารไม่เหมาะสม กิจกรรมทางกายไม่เหมาะสม / ไม่ออกกำลังกาย ( Physical inactivity )

โรควิถีชีวิต มีผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อ ระบบเศรษฐกิจโลก เพราะ .... โรควิถีชีวิต มีผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อ ระบบเศรษฐกิจโลก เพราะ .... ทำลายทรัพยากรมนุษย์ เกิดภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมาก

อาหารที่ก่อโรคอ้วน ของสังคมไทย อาหารไทยเพี้ยน ( Thai Fusion Food ) อาหาร Fast Food ตะวันตก

อาหารไทยเพี้ยน อาหารคาว หวานจัด มีรสเค็มจัด กินแบบผัดกับทอดมากขึ้น ส่วนประกอบผักในอาหารไทยน้อยลง

อาหารไทยเพี้ยน (ต่อ) กินอาหารกะทิมากขึ้น กินน้ำพริกน้อยลง กินอาหารประเภทแป้งนอกจากข้าวมากขึ้น ประยุกต์ปรุงอาหารไทยเพี้ยนไปจากเดิม

คนไทยกินอาหาร 3 รูปแบบ ปรุงเองกินในบ้าน กินนอกบ้าน กินในและนอกบ้าน

ทั้งในบ้านและนอกบ้าน อาหารที่กิน ทั้งในบ้านและนอกบ้าน เมนูชูสุขภาพ หรือ เมนูชูโรคอ้วน ?

โรค อ้วน ภัยร้ายใกล้ตัว

อ้วน คือ ภาวะร่างกายมี ไขมัน ปริมาณ สะสมมากเกิน เกณฑ์

อ้วน ใน ผู้ใหญ่ เสี่ยงตาย และ เจ็บป่วย สูงสุด ...

โรคหัวใจ สูงกว่าคนปกติ อ้วน คน 50 % มีอัตราการตายด้วย โรคหัวใจ สูงกว่าคนปกติ

คน อ้วน “ ตาย ” เพราะหลอดเลือด หัวใจตีบ 2 เท่า คนไม่อ้วน ของ

คน อ้วน “ ตาย ” เพราะโรคเบาหวาน เป็น 5 เท่า ของ คนไม่อ้วน

คน เสี่ยงต่อการเป็นโรค มะเร็ง มากกว่าคนที่ไม่อ้วน สูงถึง ร้อยละ 33

อ้วน คน เป็นโรคความดันโลหิตสูง มากกว่า …. คนที่ไม่อ้วน 3 เท่า

อ้วน คน เก๊าฑ์ เสี่ยง ต่อการเป็นโรค สูง 2.5 เท่า ของคน ไม่อ้วน

อ้วน อันตราย ใคร ใคร ก็รู้

ลดความอ้วนด้วยตนเอง ลดความอ้วนพึ่งแพทย์ มีความพยายามที่จะลด

อะไรคือแรงจูงใจ?? มีเคล็ดลับอะไร?? ลดไม่สำเร็จเพราะอะไร?

ความต้องการพลังงาน ขึ้นอยู่กับ อายุ เพศ ขนาดรูปร่าง การใช้แรงงาน

พลังงานที่ต้องการ ใน 1 วัน เพื่อทำงานของร่างกาย ใช้แรงงาน รวม ชาย 1,500 500 2,000 หญิง 1,100 500 1,600

ทางเลือก ควบคุมน้ำหนัก ลดน้ำหนัก เพิ่มน้ำหนัก

รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 2,000 ชาย 2,000 1,600 หญิง 1,600 ควบคุมน้ำหนัก น้ำหนักคงที่

เพิ่มน้ำหนัก - อ้วน รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป ชาย 2,000 หญิง 1,600 รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป ชาย 2,000 หญิง 1,600 2,500 2,100 น้ำหนักเพิ่ม 0.5 กก. / สัปดาห์

ลดน้ำหนัก รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 1,500 ชาย 1,100 หญิง 2,000 1,600 รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 1,500 ชาย 1,100 หญิง 2,000 1,600 น้ำหนักลด 0.5 กก. /สัปดาห์

กินแบบขาดสติ เพิ่มน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า กาแฟน้ำตาล 3 ชช. 60 ข้าวขาหมู 1 จาน 438 สาย ขนมปังทาเนย 2 แผ่น 210 กลางวัน ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๊วใส่ไข่ 679 ฟักทองแกงบวช 369 น้ำอัดลม 1 กระป๋อง 240 บ่าย ปอเปี๊ยทอด + น้ำจิ้ม 371 เย็น ข้าวคะน้าหมูกรอบ 620 บะหมี่ต้มยำ 310 ทุเรียน 2 พู 280 ก่อนนอน โยเกิร์ต 1 ถ้วย 150 รวม 3,712

พลังงานล้นเกินจาก 3,712 Cal เพศ ปกติ เกิน ชาย 2,000 1,712 หญิง 1,600 2,112

ถ้ากินทุกวัน เสี่ยงต่อการมี น้ำหนักเพิ่ม สัปดาห์ละ 1-2 กก.

กินเพื่อควบคุมน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า ข้าวสวย 2 ทัพพี 160 แกงจืดผักตำลึง 100 ปลากะพงลวก 3 ช้อน 78 สาย นมพร่องไขมัน 1 แก้ว 96 เที่ยง ข้าวเหนียว ส้มตำ ไก่ย่าง 521 ลาบเต้าหู้ 3 ช้อน 196 บ่าย มะละกอสุก 6 ชิ้น 70 เย็น ข้าวสวย 2 ทัพพี 166 ต้มส้มปลาทูสด 1 ถ้วยเล็ก 67 ผัดผักเบญจรงค์ 2 ทัพพี 72 ชมพู่ 2 ผล 70 รวม 1602

ถ้ากินได้ทุกวัน น้ำหนัก จะคงที่ ถ้ากินได้ทุกวัน น้ำหนัก จะคงที่

กินเพื่อลดน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า ข้าวต้มปลา 1 ถ้วย 262 นมพร่องไขมัน 1 แก้ว 84 สาย กล้วยน้ำว้า 1 ผล 70 เที่ยง ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า 1 จาน 397 ฝรั่ง ½ ผล 70 เย็น ข้าวสวย 1½ ทัพพี 109 แกงจืดเต้าหู้ขาว 90 ส้มเขียวหวาน 70 รวม 1,152

ถ้าทำได้ทุกวัน น้ำหนัก จะลดสัปดาห์ละ 0.5 กก. ถ้าทำได้ทุกวัน น้ำหนัก จะลดสัปดาห์ละ 0.5 กก.