โภชนาการในคลินิก DPAC ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี พัชรี วงศ์ษา ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กินพอดี ไม่มีอ้วน
Body Mass Index (BMI) ค่าดัชนีมวลกาย ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่ คุณ หรือ ใคร ใคร เข้าข่ายอ้วนหรือไม่ Body Mass Index (BMI) ค่าดัชนีมวลกาย ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่ ค่าดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร) X ส่วนสูง (เมตร) สูตร
BMI น้อยกว่า 18.5 = ผอมไปหน่อย
โดยใช้สายวัดวัดผ่านสะดือ การวัดเส้นรอบเอว โดยใช้สายวัดวัดผ่านสะดือ ไม่เกิน 90 เซนติเมตร ไม่เกิน 80 เซนติเมตร
WHO ฟันธงว่า โรควิถีชีวิตเกิดจาก พฤติกรรม 2 ทาง บริโภคอาหารไม่เหมาะสม กิจกรรมทางกายไม่เหมาะสม / ไม่ออกกำลังกาย ( Physical inactivity )
โรควิถีชีวิต มีผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อ ระบบเศรษฐกิจโลก เพราะ .... โรควิถีชีวิต มีผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อ ระบบเศรษฐกิจโลก เพราะ .... ทำลายทรัพยากรมนุษย์ เกิดภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมาก
อาหารที่ก่อโรคอ้วน ของสังคมไทย อาหารไทยเพี้ยน ( Thai Fusion Food ) อาหาร Fast Food ตะวันตก
อาหารไทยเพี้ยน อาหารคาว หวานจัด มีรสเค็มจัด กินแบบผัดกับทอดมากขึ้น ส่วนประกอบผักในอาหารไทยน้อยลง
อาหารไทยเพี้ยน (ต่อ) กินอาหารกะทิมากขึ้น กินน้ำพริกน้อยลง กินอาหารประเภทแป้งนอกจากข้าวมากขึ้น ประยุกต์ปรุงอาหารไทยเพี้ยนไปจากเดิม
คนไทยกินอาหาร 3 รูปแบบ ปรุงเองกินในบ้าน กินนอกบ้าน กินในและนอกบ้าน
ทั้งในบ้านและนอกบ้าน อาหารที่กิน ทั้งในบ้านและนอกบ้าน เมนูชูสุขภาพ หรือ เมนูชูโรคอ้วน ?
โรค อ้วน ภัยร้ายใกล้ตัว
อ้วน คือ ภาวะร่างกายมี ไขมัน ปริมาณ สะสมมากเกิน เกณฑ์
อ้วน ใน ผู้ใหญ่ เสี่ยงตาย และ เจ็บป่วย สูงสุด ...
โรคหัวใจ สูงกว่าคนปกติ อ้วน คน 50 % มีอัตราการตายด้วย โรคหัวใจ สูงกว่าคนปกติ
คน อ้วน “ ตาย ” เพราะหลอดเลือด หัวใจตีบ 2 เท่า คนไม่อ้วน ของ
คน อ้วน “ ตาย ” เพราะโรคเบาหวาน เป็น 5 เท่า ของ คนไม่อ้วน
คน เสี่ยงต่อการเป็นโรค มะเร็ง มากกว่าคนที่ไม่อ้วน สูงถึง ร้อยละ 33
อ้วน คน เป็นโรคความดันโลหิตสูง มากกว่า …. คนที่ไม่อ้วน 3 เท่า
อ้วน คน เก๊าฑ์ เสี่ยง ต่อการเป็นโรค สูง 2.5 เท่า ของคน ไม่อ้วน
อ้วน อันตราย ใคร ใคร ก็รู้
ลดความอ้วนด้วยตนเอง ลดความอ้วนพึ่งแพทย์ มีความพยายามที่จะลด
อะไรคือแรงจูงใจ?? มีเคล็ดลับอะไร?? ลดไม่สำเร็จเพราะอะไร?
ความต้องการพลังงาน ขึ้นอยู่กับ อายุ เพศ ขนาดรูปร่าง การใช้แรงงาน
พลังงานที่ต้องการ ใน 1 วัน เพื่อทำงานของร่างกาย ใช้แรงงาน รวม ชาย 1,500 500 2,000 หญิง 1,100 500 1,600
ทางเลือก ควบคุมน้ำหนัก ลดน้ำหนัก เพิ่มน้ำหนัก
รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 2,000 ชาย 2,000 1,600 หญิง 1,600 ควบคุมน้ำหนัก น้ำหนักคงที่
เพิ่มน้ำหนัก - อ้วน รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป ชาย 2,000 หญิง 1,600 รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป ชาย 2,000 หญิง 1,600 2,500 2,100 น้ำหนักเพิ่ม 0.5 กก. / สัปดาห์
ลดน้ำหนัก รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 1,500 ชาย 1,100 หญิง 2,000 1,600 รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 1,500 ชาย 1,100 หญิง 2,000 1,600 น้ำหนักลด 0.5 กก. /สัปดาห์
กินแบบขาดสติ เพิ่มน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า กาแฟน้ำตาล 3 ชช. 60 ข้าวขาหมู 1 จาน 438 สาย ขนมปังทาเนย 2 แผ่น 210 กลางวัน ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๊วใส่ไข่ 679 ฟักทองแกงบวช 369 น้ำอัดลม 1 กระป๋อง 240 บ่าย ปอเปี๊ยทอด + น้ำจิ้ม 371 เย็น ข้าวคะน้าหมูกรอบ 620 บะหมี่ต้มยำ 310 ทุเรียน 2 พู 280 ก่อนนอน โยเกิร์ต 1 ถ้วย 150 รวม 3,712
พลังงานล้นเกินจาก 3,712 Cal เพศ ปกติ เกิน ชาย 2,000 1,712 หญิง 1,600 2,112
ถ้ากินทุกวัน เสี่ยงต่อการมี น้ำหนักเพิ่ม สัปดาห์ละ 1-2 กก.
กินเพื่อควบคุมน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า ข้าวสวย 2 ทัพพี 160 แกงจืดผักตำลึง 100 ปลากะพงลวก 3 ช้อน 78 สาย นมพร่องไขมัน 1 แก้ว 96 เที่ยง ข้าวเหนียว ส้มตำ ไก่ย่าง 521 ลาบเต้าหู้ 3 ช้อน 196 บ่าย มะละกอสุก 6 ชิ้น 70 เย็น ข้าวสวย 2 ทัพพี 166 ต้มส้มปลาทูสด 1 ถ้วยเล็ก 67 ผัดผักเบญจรงค์ 2 ทัพพี 72 ชมพู่ 2 ผล 70 รวม 1602
ถ้ากินได้ทุกวัน น้ำหนัก จะคงที่ ถ้ากินได้ทุกวัน น้ำหนัก จะคงที่
กินเพื่อลดน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า ข้าวต้มปลา 1 ถ้วย 262 นมพร่องไขมัน 1 แก้ว 84 สาย กล้วยน้ำว้า 1 ผล 70 เที่ยง ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า 1 จาน 397 ฝรั่ง ½ ผล 70 เย็น ข้าวสวย 1½ ทัพพี 109 แกงจืดเต้าหู้ขาว 90 ส้มเขียวหวาน 70 รวม 1,152
ถ้าทำได้ทุกวัน น้ำหนัก จะลดสัปดาห์ละ 0.5 กก. ถ้าทำได้ทุกวัน น้ำหนัก จะลดสัปดาห์ละ 0.5 กก.