รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การจัดการความเสี่ยงด้านยา ปี 2550
Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การแพ้ยาข้ามกลุ่ม.
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
ฝึกปฏิบัติการให้การบำบัดแบบสั้น
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
Ovarian tumor, morbid obesity
Management of Pulmonary Tuberculosis
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
Myasthenia Gravis.
Patient profile อายุ 38 ปี น้ำหนัก 95 กิโลกรัม ปฏิเสธการแพ้ยา
Drug induced hepatitis
กรณีศึกษา warfarin.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
ข้อ 1 โจทย์ ชาย อายุ 59 ปี มีไข้ ตรวจชีพจร และฟังได้หัวใจเต้นไม่ส่ำเสมอ ทำ ECG ดังแสดง จงอ่าน ECG นี้โดยละเอียด.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
มุ่งสู่ฝันและความเป็นหนึ่ง
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
21/02/54 Ambulatory care.
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
โดย นสภ. นภาลัย อมรเทพดำรง
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Easy COPD clinic … Easy to Practice and Achieve
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
Pharmacist‘s role in Warfarin Team
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
นสภ.ณัฐกานต์ ศรีกรินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550 รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2550 ** จำนวน รายงานทั้งหมด 139 ฉบับ ** เกิด ADR จำนวน 165 รายการ ** จากยาที่สงสัย จำนวน 183 ตัวยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.1 เกิด ADR ที่ไม่ร้ายแรง โดยผลที่เกิด ADR ส่วนใหญ่ ร้อยละ 72.3 หายเป็นปกติโดยไม่มีร่องรอยเดิม

Ceftriaxone 13 ราย Cotrimoxazole 10 ราย Dicloxacillin 9 ราย

รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง ** Toxic Epidermal Necrolysis (Ten) จำนวน 3 ราย จากยา Allopurinal 1 ราย Cotromoxazole 1 ราย Tetracycline 1 ราย ** Stevens Johnson Syndrome จำนวน 2 ราย จากยา Allopurinal 1 ราย Cotrimoxazole 1 ราย

รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง ** Anaphylaxis shock จำนวน 7 ราย จากยา Allopurinal 2 ราย Ceftriaxone 3 ราย Ciprofloxacin 1 ราย Mydoclam 1 ราย

รายงาน ADR ตามระบบอวัยวะของร่างกาย

Case report ผู้ป่วยชายไทย อายุ 90 ปี Dx. Chronic ischaemic heart disease, unspecified Med : 26 กย. 50 Imdur 1 x 1 pc ASA I 1 x 1pc Ativan 1 x hs Senokot 3 x hs Parafon forte 1 x 3 pc Ezetrol (10) 1 x 1 pc ยาเดิม ได้ต่ออีก 1 mo. = 21 เม็ด ** ครั้งแรก

26 กันยายน 2550 : หลังทานยา ผป.เกิดอาการแน่นหน้าอก 8 ตุลาคม 2550 : vastarel MR 1 x 2 pc 9 ตุลาคม 2550 : ASA I 2 x 1 pc  10 ตุลาคม 2550 : ผป.หยุดยา Ezetrol อาการแน่นหน้าอกดีขึ้น 9 ตค 26 ตค 8 ตค 10ตค Vastarel MR Off Ezetrol Imdur , ASA I , Ativan , Senokot, Parafon forte , Ezetrol (10) ASA I 

4 ADR probability scale ใช่ ไม่ใช่ ไม่ทราบ 1. เคยมีสรุปหรือรายงานปฏิกิริยานี้กับยาที่สงสัยชนิดนี้มาแล้ว +1 2. อาการไม่พึงประสงค์เกิดขึ้นภายหลังจากการได้รับยาที่สงสัย +2 -1 3. อาการไม่พึงประสงค์ดีขึ้น เมื่อหยุดยาที่สงสัยหรือเมื่อให้ยาต้านที่เฉพาะเจาะจง 4. อาการไม่พึงประสงค์ดังกล่าว เกิดขึ้นอีกเมื่อเริ่มให้ยาที่สงสัยเข้าไปใหม่ 5. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเกิดจากสาเหตุอื่นนอกเหนือจากยาที่สงสัยได้ 6. ปฏิกิริยาดังกล่าวเกิดขึ้นอีก เมื่อผู้ป่วยได้รับยาหลอก 7. สามารถตรวจวัดระดับยาที่สงสัยในเลือด 8. ปฏิกิริยารุนแรงขึ้นเมื่อเพิ่มขนาดยา หรือลดลงเมื่อลดขนาดยา 9. ผู้ป่วยเคยมีปฏิกิริยาคล้ายกันนี้มาแล้ว เมื่อได้รับยาในครั้งก่อน 10. อาการไม่พึงประสงค์นั้น มีหลักฐานได้รับการยืนยันโดยวิธีที่เหมาะสม คะแนนรวม   4

Case report ผู้ป่วยชายไทย อายุ 35 ปี ประวัติ AF with CHF with MVR on warfarin มาตลอด ตั้งแต่ปี 2547 (Goal INR 2.5-3.5) 6 สิงหาคม 50 (INR 3.5) Rx : warfarin (3) 1 x1 hs Digoxin 1 x 1 pc Lasix(40) 1 x 1pc Enalapril (5) 1 x 1pc 3 mo.

13 ตค. 50 : มา ER แล้ว admit (INR 4. 2) 13 ตค. 50 : มา ER แล้ว admit (INR 4.2) ด้วยอาการ จุกลิ้นปี่ แน่นหน้าอก ร้าวไหล่ขวา หายใจไม่อิ่ม : ไม่มี abnormal bleeding : ดื่มเหล้าครั้งคราว ไม่สูบบุหรี่ D/C : 15 ตค.50 : Digoxin (0.25) 1 x 1 pc Lasix(40) 1 x 1pc Enalapril (5) 1 x 1pc E.KCl 30 cc x 3 pc ( 2 day) ** ไม่ได้รับยา warfarin กลับบ้าน ** F/U 1 wk

22 ตุลาคม 50. : ผป. มาตรวจตามนัด (INR 1. 08) แพทย์ order warfarin (3) 1 x1 hs Digoxin (0.25) 1 x 1 pc Lasix(40) 1 x 1pc Enalapril (5) 1 x 1pc Romilar 1 x3 pc

เกิดความผิดพลาดอะไรขึ้นบ้าง???? ADE ME prescribing error (sentinel event) (ระดับ E)

Case report ผู้ป่วยชายไทย อายุ 36 ปี น้ำหนัก 59 กก. Dx. Pulmonary TB (new case) 27 สิงหาคม 50 : INH (100) 3x hs RF(300) 2 x hs PZA (500) 3 x hs ETB (400) 3 x hs 7 กันยายน 50 : HRZE (size L) 2 wk.

8 กันยายน 2550 : มีอาการคัน และคลื่นไส้ อาเจียน 8 กันยายน 2550 : มีอาการคัน และคลื่นไส้ อาเจียน CPM 1x 3 pc , Dramamine 1 x prn q4-6 10 กันยายน 2550 : มาด้วยผื่น , จ้ำเลือด Off ยา TB Rx. - 0.1%TA ทาผื่น - Pred (5) 2 x 2 pc - Zyrtec 1 x 1 pc

14 กันยายน 50 :. Zyrtec 1 x 2 pc. Atarax 1 x prn q4 hr 14 กันยายน 50 : Zyrtec 1 x 2 pc Atarax 1 x prn q4 hr. 0.1% TA cream ทาผื่น INH (rechallenge dose) ½ tab  1 tab  2 tab  3 tab 21 กันยายน 50 : ไม่พบอาการคัน ผื่น คลื่นไส้ อาเจียน INH 3 x hs Rifampicin (rechallenge dose) 5 ml  10 ml  15 ml  20 ml

28 กันยายน 50 :. ไม่พบอาการคัน ผื่น คลื่นไส้ อาเจียน 28 กันยายน 50 : ไม่พบอาการคัน ผื่น คลื่นไส้ อาเจียน Rx : Zyrtec 1 x 2 pc Atarax 1 x prn q4 hr. INH 3 x hs Rifampicin (300) 2 x hs PZA (500) (rechallenge dose) ½ tab  1 tab  3 tab 12 ตุลาคม 50 : No side effect Zyrtec 1 x 2 pc INH 3 x hs Rifampicin (300) 2 x hs PZA (500) 3 x hs 30 วัน

Drug induce fever อาการไข้ที่มีสาเหตุจากยา - พบว่า 6-18 % ของอาการไม่พึงประสงค์จากยาที่เกิดขึ้นจะมีอาการไข้ร่วมด้วย ซึ่งในจำนวนนี้มี 3.4 % ที่มีอาการไข้เพียงอย่างเดียว - สาเหตุที่สำคัญเกิดจากการเปลี่ยนแปลง set piont ที่ hypothalamus โดยเชื่อว่าสารก่อไข้ที่มาจากภายนอกกระตุ้นให้เกิดการหลั่งสารภายในร่างกาย ซึ่งสารเหล่านี้จะไปมีผลต่อสารสื่อประสาทต่าง ๆ ที่ hypothalamus ทำให้มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิและเกิดอาการไข้ขึ้น

Drug induce fever

ลักษณะอาการทางคลินิก อาการทางคลินิกที่พบของยาที่จะก่อให้เกิดอาการไข้ได้นั้น โดยส่วนใหญ่จะพบภายใน 7-10 วัน หลังจากได้รับยา อาจจะเริ่มต้นด้วยมีอาการไข้ต่ำ ๆ จากนั้นจะค่อยๆ สูงขึ้น และจะคงอยู่ตลอดเวลาที่ได้รับยา ไข้จะลดลงได้อย่างรวดเร็วหลังจากหยุดยา ( ปกติภายใน 48 ชั่วโมง ) แต่ถ้าได้รับยาซ้ำอาการไข้จะกลับมาอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง อาการไข้ที่เกิดขึ้นจะไม่มีรูปแบบของไข้ที่ชัดเจน อาจจะมีลักษณะไข้สูงสลับกับปกติได้ในระหว่างวันโดยสัมพันธ์กับขนาดยาหรือไม่สัมพันธ์กับขนาดยาก็ได้ ผู้ป่วยจะไม่มีค่าผลตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะต่ออาการไข้ ในบางรายอาจพบอาการปวดข้อ เป็นผื่น ลมพิษ ไม่สบายในท้อง และพบความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ( leukocytosis and eosinophilia ) ร่วมด้วย