Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
รองศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ รัตนาปนนท์
Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School
สารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน (antioxidants)
ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation)
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การเสื่อมเสียของอาหาร
สารสกัดจากมังคุด สารสกัดจีเอ็ม-1 (GM-1) สารสกัดแทนนิน (Tannin)
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โพรโทซัว( Protozoa ).
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Protein.
ประโยชน์ในผักแต่ละสี
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Chemical Properties of Grain
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
II. Post harvest loss of cereal crop
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
สารต้านอนุมูลอิสระในอาหารไทย
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
ผลไม้ลดความอ้วน.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
อาหารเพื่อผิวสวย โดย ฉัตรฤทัย บัวสุข
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
มาทำความรู้จักกลูต้าไธโอนกันเถอะ
10 Tips For Good Health โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
อาหารเพื่อสุขภาพ สำหรับบุคคลที่มีทวารเทียม
Broccoli Wheat grass Barley Grass Spinach Alfalfa Herb Pepermint leaf
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
กินตามกรุ๊ปเลือด.
Major General Environmental Problems
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ จัดทำโดย ด.ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่8 เสนอ
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
10 อันดับน้ำผลไม้เพื่อสุขภาพ
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อาหารที่มีประโยชน์กับสุขภาพ
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School บทนำ SORACHAI SAE-LIM Department of Chemistry Mahidol wittayanusorn School

สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค เกิดจากอะไร SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

อนุมูลอิสระ ( Free Radicals ) อนุมูลคืออะไร ทำไมถึงทำให้เกิดโรคได้ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

Heterolysis or Heterolytic fission Fission of chemical bonding Homolysis or Homolytic fission A−B → A• + B• Heterolysis or Heterolytic fission อนุมูลอิสระ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจะไม่เสถียร อนุมูลอิสระ ( Free Radicals ) คือ โมเลกุลที่มีธาตุที่ไม่มั่นคงเนื่องจากขาด อิเล็กตรอน ไป 1 ตัวปกติแร่ธาตุทั้งหลายในร่างกายของเราจะมีอีเล็กตรอนอยู่วงรอบเป็นจำนวนคู่ ซึ่งทำให้โมเลกุลนั้นคงตัว ในกรณีที่มีการสูญเสีย อิเล็กตรอน หรือรับอิเล็กตรอน มาอีกเพียง 1 ตัวจะทำให้โมเลกุลนั้นไม่มั่นคง A−B → A• + B• อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจะไม่เสถียร จึงวิ่งไปจับสารอื่นที่มีอิเล็กตรอน เพื่อทำให้ตัวเองเสถียร SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

ผู้ถูกแย่งก็กลายเป็นตัวเจ้าปัญหาแทนเพราะตนไม่มั่นคง ต้องไปแย่งคนอื่นมาเป็นทอดๆ ยกเว้นตัวที่ไม่มั่นคง 2 ตัวมาเจอกันก็จะรวมกันกลายเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ http://www.knowcancer.com/blog/antioxidants-free-radicals-and-your-body/ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

อนุมูลอิสระจึงเป็นสารพิษต่อเซลล์ร่างกาย ถ้ามีมากในเซลล์ก็เป็นอันตรายได้โดยจะทำลาย ดีเอนเอ เยื่อหุ้มเซลล์ และอื่นๆ แต่เซลล์ร่างกายพวกเม็ดเลือดขาว ก็ใช้สารพวกนี้กำจัดแบคทีเรีย หลังจากที่เซลล์กินแบคทีเรียเข้าไปในตัวแล้ว อนุมูลอิสระเชื่อว่า มีผลต่อการอักเสบ และการทำลายเนื้อเยื่อในระยะสั้น ในระยะยาวอาจมีผลต่อ ความเสื่อมหรือการแก่ของเซลล์ และอาจเป็นสารการก่อมะเร็ง และโรคหัวใจ ต้อกระจก http://www.howtowincancer.com/ SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

สาเหตุปัจจัยภายในร่างกาย ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ใช้ออกซิเจนในการดำรงชีวิต จะพบอนุมูลอิสระของออกซิเจนชนิดต่าง ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา อนุมูลอิสระนี้เกิดมาจากสาเหตุปัจจัยภายในและภายนอกร่างกาย สาเหตุปัจจัยภายในร่างกาย ปฏิกิริยาออกซิเดชันของลิปิด กระบวนการกำจัดสิ่งแปลกปลอมของเม็ดเลือดขาว โลหะทรานสิชัน SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

สาเหตุปัจจัยภายนอกร่างกาย มลพิษในอากาศ โอโซน ไนตรัสออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ฝุ่น ควันบุหรี่ อาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว หรือธาตุเหล็กมากกว่าปกติ แสงแดด ความร้อน รังสีแกมม่า ยาบางชนิด เช่น Doxorubicin , Penicillamine, paracetamol, CCl4 เป็นต้น SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

กระบวนการกำจัดอนุมูลอิสระ ร่างกายก็มีกลไกที่จะกำจัด อนุมูลอิสระ เหล่านี้โดย 2 วิธี คือ 1. ใช้เอนไซม์ต่างๆในร่างกายเช่น Superoxide dismultase (SOD) 2.ไม่ใช้เอนไซม์ แต่ได้จากการรับประทานอาหารได้แก่ วิตามิน อี (แอลฟา-tocopherol เบตาคาโรทีน (Betacarotene) และ วิตามิน ซี เนื่องจากมีผู้สังเกตว่า เอนไซม์ต่างๆที่ใช้กำจัด อนุมูลอิสระ เช่น SOD มีได้จำกัด แต่สารที่เราสามารถทานเสริมได้แก่ วิตามิน อี วิตามิน ซี เบต้าคาโรทีน ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระหรือมีอีกชื่อว่า Antioxidant SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School

บรรณานุกรม SORACHAI SAELIM, Department of Chemistry, Mahidolwittayanusorn School