ระบบสุขภาพชุมชน chuchai.sn@gmail.com 10 มิถุนายน 2555
บทบาทของระบบสุขภาพชุมชน กับความเป็นธรรมทางสุขภาพ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความไม่เพียงพอของการจัดสรร ทรัพยากรสุขภาพของรัฐ การระดมทรัพยากรของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพระบบ บริการสุขภาพและการรณรงค์ด้านสุขภาพของชุมชน From Case (or Problem) Based System Oriented Health Workforce Development
แผนที่ยุทธศาสตร์สนับสนุนระบบสุขภาพชุมชน ชุมชน ท้องถิ่นเข้มแข็งจัดการสุขภาพและพึ่งตนเองได้ Vision ชุมชน ท้องถิ่นมีสุขภาพดีแบบองค์รวม ผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแล Goal ส่งเสริมยุทธศาสตร์ social determinants of health โดยมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน อปท. องค์กรชุมชน ชุมชน เข้าร่วมบูรณาการกองทุน และทุนทางสังคมในพื้นที่ กระจายอำนาจให้ อปท.จัดการระบบสุขภาพชุมชน ด้วยข้อตกลง ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมชุมชน Strategy พัฒนาระบบข้อมูลการดำเนินงานกองทุน ภาคประชาชน ผู้นำชุมชนเป็นเครือข่าย safety net งบประมาณที่บริหารจัดการ ตามปัญหาความต้องการสุขภาวะชุมชน พื้นที่ ท้องถิ่น เป็นเจ้าของดำเนินการแผนงานสุขภาพชุมชน คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ มีความเข้มแข็ง ธรรมาภิบาล บริหารจัดการความรู้ การสร้างศูนย์นวัตกรรมสุขภาพชุมชน Objectives (Strategic outcomes) หลักเกณฑ์ แนวทางการดำเนินงานกองทุน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ภาคีเครือข่ายสุขภาพ บูรณาการการทำงานร่วมกัน เป็น social support system การวิจัยเพื่อการพัฒนากองทุน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสันนิบาต สมาคมผู้บริหารท้องถิ่น จัดให้มีการเจรจา หรือมีการสร้างข้อตกลงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สร้างโครงการธงนำ (Flagship social health development) พัฒนารูปแบบ โครงการที่มีส่วนร่วมในการจัดการกองทุนโดยภาคประชาชน ประชาสังคม อปท. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. เพื่อแก้ไขปัญหาสังคมในพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุน ทั้งกระบวนการงบประมาณ การจัดบริการ การจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ จัดทำฐานข้อมูล และ พัฒนาศูนย์เรียนรู้เพื่อการสร้างระบบสุขภาพชุมชน อาเซียน Action plan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.-เทศบาล สร้างโครงการเชื่อมร้อย บ – ว – ร หรือ บ – ร – ม จัดให้มีการวิจัยเพื่อการพัฒนา และ สร้างรูปแบบระบบสุขภาพชุมชนทางเลือก จัดให้มีเวทีการแลกเปลี่ยนระหว่างส่วนกลาง-เขต-อปท.-นักวิชาการ-หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการการทำงานร่วมกับภาคีสุขภาพ (พื้นที่ เป้าหมาย งบประมาณ)
พื้นที่ดำเนินงาน District Health System (ต้นทุน) เครือข่าย/เขต 1 เชียงใหม่ , เชียงราย , แม่ฮ่องสอน , น่าน , แพร่ , พะเยา , ลำปาง , ลำพูน (40 แห่ง) เครือข่าย/ เขต 8 - อุดรธานี สกลนคร , มุกดาหาร , นครพนม , หนองคาย , หนองบัวลำภู , เลย, บึงกาฬ ( 22 แห่ง) เครือข่าย/เขต 2 - เขตพิษณุโลก , อุตรดิตถ์ , ตาก , สุโขทัย , เพชรบูรณ์ (22 แห่ง) เครือข่าย /เขต 7 - ขอนแก่น , มหาสารคาม , ร้อยเอ็ด , กาฬสินธุ์ (25 แห่ง) เครือข่าย/เขต 3 - นครสวรรค์ , อุทัยธานี , พิจิตร , กำแพงเพชร (30 แห่ง) เครือข่าย/เขต 10 - อุบลราชธานี , อำนาจเจริญ , ศรีสะเกษ , ยโสธร มุกดาหาร อุบลราชธานี (47 แห่ง) เครือข่าย/เขต 4 - สระบุรี , สิงห์บุรี , ชัยนาท , ลพบุรี , นนทบุรี , อยุธยา , ปทุมธานี , อ่างทอง, นครนายก ( 28 แห่ง) เครือข่าย/ เขต 9 นครราชสีมา สุรินทร์ , ชัยภูมิ , บุรีรัมย์ สุรินทร์ นครราชสีมา (29 แห่ง) เครือข่าย/เขต 5 - ราชบุรี , สุพรรณบุรี , นครปฐม , กาญจนบุรี , เพชรบุรี , ประจวบฯ , สมุทรสาคร , สมุทรสงคราม - (27 แห่ง) เขตกรุงเทพฯ 2 แห่ง (นำร่อง) เครือข่าย/ เขต 6 ระยอง , ฉะเชิงเทรา , สมุทรปราการ, สระแก้ว , ปราจีนฯ , ชลบุรี , จันทบุรี , ตราด ( 22 แห่ง) เครือข่าย /เขต 11 - สุราษฎร์ธานี , ชุมพร , ระนอง , ภูเก็ต , พังงา , กระบี่ ( 23 แห่ง) เครือข่าย/ เขต 12 - เขตสงขลา , สตูล , นครศรีฯ , ตรัง , พัทลุง , ปัตตานี , ยะลา , นราธิวาส ( 26 แห่ง)
การจัดระบบการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ บริการทางสังคม บริการทางสุขภาพ การดูแลซับซ้อน นอกสถานบริการ การดูแลที่บ้าน(Home services) การดูแลบ้าน(Home care) การปรับปรุงบ้าน(Home modification) การพยาบาลที่บ้าน(Home nursing services) บริการที่บ้านและชุมชนอย่าง บูรณาการ (Home-based & Community Health services) บริการดูแลกลางวัน (Day care) บริการดูแลทดแทน (Respite care) บริการโรงพยาบาลกลางวัน (Hospital day care) บริการขั้นกลาง (Intermediate care) ในสถานบริการ บ้านพักผู้สูงอายุ (Residential home) สถานบริบาลการ พยาบาล(Nursing home) หอผู้ป่วยระยะ ยาว (Long-stay ward) กำลังคน : ครอบครัว อาสาสมัคร ผู้ช่วยผู้ดูแล ผู้สนับสนุน : กำลังคนทางการ กำลังคน : อาสาสมัคร ผู้ช่วยผู้ดูแล กำลังคนทางการ
ความร่วมมือดำเนินงานสนับสนุนสุขภาวะชุมชนของ สสส.-สปสช. ศูนย์เรียนรู้ตำบล สุขภาวะ สสส. 54 ศูนย์ ประเด็นนโยบายสาธารณะ 7 เรื่อง 1.การจัดสวัสดิการสังคมโดยชุมชน 2.การดูแลสุขภาพโดยชุมชน 3.การเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน 4.การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.การจัดการภัยพิบัติ 6.เกษตรกรรมยั่งยืน 7.การบริหารจัดการท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม ภาคีที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงาน ส. มหาวิทยาลัยในพื้นที่ ชุมชน บ้าน วัด โรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุข ภาคเอกชน ฯลฯ สร้างสุขภาวะชุมชนโดยกองทุน อบต./เทศบาล 1.การดูแลผู้สูงอายุ 2.การดูแลเด็กเล็ก ศูนย์เด็ก 3.การดูแลคนพิการ ทุพพลภาพ 4.การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโรคเบาหวานความดันฯ
ผลการประเมินกองทุนฯ เกรด A+ เกรด A เกรด B เกรด C รวม 994 (25.8%) 2,062 (51.5%) 816 (20.1%) 102 (2.6%) 3,974
บูรณาการ เพื่อ การขับเคลื่อน กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ อบต. เทศบาล กองทุนส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ พ ร อ ว ส ค ม