พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พันธะเคมี Chemical bonding.
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ประโยคในภาษาไทย การเขียนประกอบด้วยประโยคต่าง ๆ หลายรูปแบบ หากเข้าใจโครงสร้างของประโยค จะทำให้สื่อความหมายได้ชัดเจน ไม่สับสน ไม่คลุมเครือ และไม่ขาดตกบกพร่อง.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
ระบบขับถ่ายของเสีย.
โครเมี่ยม (Cr).
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เคมี รหัส ว33221 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง Organic chemistry
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี ชุดที่2 อ.ศราวุทธ 11/18/2018.
ความเค้นและความเครียด
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แบบฝึกหัดที่ 3 ไฮโดรคาร์บอน
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
ตารางธาตุ.
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Alkyne และ Cycloalkyne
ตอนที่ 1: ใจที่ตั้งมั่นคง
Ernest Rutherford.
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
General Chemistry Quiz 9 Chem Rxn I.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ปฏิกิริยาเคมี Chemical Reaction
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
รูปนิสิต บทคัดย่อ ผลการทดลอง วัตถุประสงค์ วิธีการที่นำเสนอ บทนำ
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี คือ พันธะที่เกิดจากการที่อะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ๆ เพื่อให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนครบแปดตัวตาม กฎออกเตต (Octet rule) เป็นพันธะในโมเลกุล ซึ่งธาตุที่เป็นองค์ประกอบมีค่า EN ใกล้เคียงกัน และมีค่า EN ค่อนข้างสูง (อะตอมมีค่า EN สูงจึงไม่มีอะตอมใดยอมเสียอิเล็กตรอน)

พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี คู่อิเล็กตรอนที่ใช้ในการเกิดพันธะ 1 พันธะ (2e–) เรียกว่า อิเล็กตรอนคู่พันธะ (bonding pair) คู่อิเล็กตรอน (2e–) ที่ไม่ได้ใช้ในการเกิดพันธะ เรียกว่า อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair)

พันธะโคเวเลนต์ พันธะเคมี สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสของธาตุบางธาตุ การเกิดพันธะโคเวเลนต์ของไฮโดรเจนฟลูออไรด์

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ 1. สูตรโครงสร้างแบบจุด หรือเรียกว่าโครงสร้างลิวอิส (Lewis structure) เป็นการสร้างพันธะโดยการนำเอาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกัน การให้หรือ/และรับอิเล็กตรอนของอะตอมทั้งสองอะตอมให้เป็นไปตาม “กฎออกเตต” โดยแสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็นจุด 2. สูตรโครงสร้างแบบเส้น ใช้เส้นตรง 1 เส้น ( — ) แทนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 1 คู่ ใช้เส้นตรง 2 เส้น (  ) แทนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 2 คู่ ใช้เส้นตรง 3 เส้น (  ) แทนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกัน 3 คู่ อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่เหลืออาจเขียนโดยใช้จุดแทน หรือไม่เขียนเลยก็ได้

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ ชนิดของพันธะโคเวเลนต์ พิจารณาจากจำนวนอิเล็กตรอนที่ใช้ร่วมกันของอะตอมคู่ร่วมพันธะ ดังนี้ 1. พันธะเดี่ยว (Single bond) 2. พันธะคู่ (Double bond) 3. พันธะสาม (Triple bond)

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเดี่ยว เป็นพันธะโคเวเลนต์ที่ประกอบขึ้นด้วยอิเล็กตรอนคู่เดียว ทั้งสองใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่ ใช้เส้น 1 เส้น (  ) แทนหนึ่งพันธะเดี่ยว เช่น H2 (H — H) F2 (F — F)

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะคู่ เป็นพันธะโควาเลนต์ที่เกิดจากอะตอมใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ ใช้เส้น 2 เส้น (  ) แทนหนึ่งพันธะคู่ เช่น CO2 (O=C=O)

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะสาม เป็นพันธะโควาเลนต์ที่เกิดจากอะตอมใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่ ใช้เส้น 3 เส้น (  ) แทนหนึ่งพันธะสาม เช่น

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ ตัวอย่างการเขียนสูตรโครงสร้างของ O2, CO2, C2H4, N2 และ C2H2

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ ตัวอย่าง จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้น และแบบจุดของสารต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้างแบบเส้น สูตรโครงสร้างแบบจุด Br2 H2O CS2

การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ พันธะเคมี การเขียนสูตรโครงสร้างสารโคเวเลนต์ ตัวอย่าง จงเขียนสูตรโครงสร้างแบบเส้น และแบบจุดของสารต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรโครงสร้างแบบเส้น สูตรโครงสร้างแบบจุด N2H4 H2O2 CH3OH