ชื่องาน:การหาปริมาณของแม่พิมพ์ที่จะใช้ในการหล่อรูป จัดทำโดย นายสิปปนันท์ ปัทมผดุงศักดิ์ 1590901292 เสนอ อาจารย์ทศพล บ้านคลองสี่ วิชา แคลคูลัส 3 สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2559
PROJECT NAME:How to use calculus in my daily SUBMITTED BY SIPPANAN PATTAMAPHADUNGSAK 1590901292 PRESENT TODSAPON BANKLONGSI CALCULUS 3 DEPARTMENT OF ELECTRONICS ENGINEERING ของแต่ละคน SCHOOL OF ENGINEERING BANGKOK UNIVERSITY SEMESTER 3 YEAR 2016
ถ้าคำนวณปริมาตรในการสร้างแม่พิมพ์ที่ใช้ในการหล่อรูปโดยการนำการหาปริมาตรของcalculusมาช่วยจะทำให้ง่ายขึ้นโดยการที่เราจะกำหนดให้ขึ้นรูปที่มีการหมุนพื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยสมการ2x= 𝑦 2 และความสูงของรูปทรงตันนั้นเท่ากับ3 วิธีทำ แบบdish method เราจะทำการกำหนดให้หมุนรอบแกนxโดยที่x=3 y=0 จากสูกตรการหาปริมาตรถ้าเรากำหนดให้x=3cm V=π 0 3 𝑦 2 dx =π 0 3 2𝑥 dx = π [ 2𝑥 2 2 ] 3 0 = π ( 3 2 - 0 2 ) =9π 𝑐𝑚 3 ตามสมการนี้เราจะได้เหล็กทรงตันความสูงท่ากับ3 และปริมาตรเท่ากับ9π 𝑐𝑚 3 ซึ่งในการคำนวณแบบนี้เราจะสามารถที่จะหาปริมาตรได้ง่ายขึ้นและเร็วขึ้น
แล้วถ้าหากนำข้อเมื่อกี้มาคำนวณตามแนวแกนyหละเราจะสามารถคำนวณได้มั้ย จากสมการ 𝑦 2 =2x x= 𝑦 2 2 จะคำนวณได้ว่าV=2π 0 3 𝑦 2 2 dx V=2π 𝑦 3 6 v=2π 3 3 6 v=9π 𝑐𝑚 3
ประโยชน์ที่ได้:เราสามารถที่จะหาปริมาตรของวัตถุต่างๆได้ ซึ่งเราสามารถที่จะนำในส่วนของแคลตรงนี้ไปคำนวณ ไม่ว่าจะเป็นปริมาณของปูนที่ใช้หล่อรูป หรือว่าหาปริมาตรของบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับการใส่วัสดุต่างๆ การพัฒนาต่อในอนาคต:สามารถหล่อรูปได้โดยการใส่สมการลงไปในเครื่องจักรกล หลังจากนั้นเครื่องจักรจะทำการแปลผลแล้วหล่อโดยอัตโนมัติ