การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
Pushdown Automata : PDA
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 11 AC.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE, NU
Network Function Piyadanai Pachanapan.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
แรงดัน กระแส และ กำลังไฟฟ้า ในระบบ 3 เฟส
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
แผงวงจรพ่วง (Peripheral Board)
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
Elements of Thermal System
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์ Piyadanai Pachanapan

การวิเคราะห์สถานะคงตัวของวงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์ การวิเคราะห์วงจรข่าย ที่ถูกกระตุ้นด้วยสัญญาณไซนูซอยด์ (Sinusoid Signal) ผลตอบสนองที่เกิดขึ้นในวงจรข่าย จะเป็นฟังก์ชันไซนูซอยด์ (Sinusoid Function) สัญญาณไซนูซอยด์ สามารถแทนด้วยฟังก์ชันกระตุ้นเชิงซ้อน (The Complex Forcing Function) และรูปแบบเฟสเซอร์ (Phasor)

สัญญาณไซนูซอยด์ (Sinusoid Signal) โดยที่

วงจรไฟฟ้าที่ถูกกระตุ้นด้วยสัญญาณไซนูซอยด์ วงจรข่ายที่ถูกกระตุ้นด้วยฟังก์ชันไซนูซอยด์ จะให้ผลตอบสนองเป็นฟังก์ชันไซนูซอยด์เช่นเดียวกับสัญญาณกระตุ้น (input) ฟังก์ชันกระตุ้น ฟังก์ชันตอบสนองในสถานะคงตัว

เมื่อเลื่อนเฟส หรือ เลื่อนเวลาอ้างอิงของฟังก์ชันกระตุ้นไป 90o จะได้ ฟังก์ชันกระตุ้นเปลี่ยนเป็น ผลตอบสนองของวงจร คือ

เมื่อฟังก์ชันกระตุ้นเป็นฟังก์ชันจินตภาพ จะทำให้ผลตอบสนองเป็นฟังก์ชันจินตภาพ เช่นกัน (ไม่สามารถทำได้ในทางปฏิบัติ) ฟังก์ชันกระตุ้น ฟังก์ชันตอบสนองในสถานะคงตัว

เมื่อหาผลตอบสนองของสัญญาณกระตุ้นแต่ละครั้ง แล้วนำมารวมกันโดยหลักการซุปเปอร์โพซิชัน จะได้ สัญญาณตอบสนอง

จากกฎของออยเลอร์ สัญญาณกระตุ้น (complex function) สัญญาณตอบสนอง (complex function) แสดงดังรูป

Example # 1 จากวงจร RL อนุกรม มีสัญญาณกระตุ้นเป็น จงหา สัญญาณตอบสนอง

จาก จะได้ ผลตอบสนอง (กระแส)  ขนาด Im มุมต่างเฟส จะได้ KVL :

แทนค่า v(t) และ i(t) จะได้ : เอา หารตลอด

เขียน ในรูปพิกัดขั้ว (polar form) จะได้ผลตอบสนองเป็น เขียนในรูปเอกซ์โพเนนเชียลได้เป็น

จาก แทนค่า Im และ จะได้

Example # 2 จากวงจรในรูป จงหากระแสของวงจร RL ขนาน เมื่อป้อนอินพุตเป็นสัญญาณ แรงดัน สมมติกระแส

KCL : เขียนสมการอนุพันธ์เป็น

เอา หารตลอด จะได้ และ จากการสมมติกระแส จะได้

เฟสเซอร์ (Phasor) ในการวิเคราะห์วงจรเชิงเส้นในสถานะคงตัวของสัญญาณไซนูซอยด์ ทุกๆ สัญญาณในวงจรจะมีความถี่ค่าเดียว คือ การเขียนฟังก์ชันไซนูซอยด์ในโดเมนความถี่ โดยใช้ตัวแปร 2 ตัวก็พอ คือ ขนาด มุมเฟส จาก เฟสเซอร์

เฟสเซอร์ของฟังก์ชันไซนูซอยด์บริสุทธิ์ (Pure Sinusoid) พบว่า i(t) เป็นส่วนจริงของ จะได้ แต่การเขียนเฟสเซอร์จะ  ละไม่เขียน Re ตัดตัวประกอบ ออก จะได้

การแปลงเฟสเซอร์ (Phasor Transform) 1. แปลงจากโดเมนเวลา  โดเมนความถี่ 1.1 เขียนสัญญาณในโดเมนเวลา ให้เป็นฟังก์ชันโคไซน์ (Cosine) ที่มีมุมเฟส 1.2 ใช้กฎออยเลอย์ แปลงฟังก์ชัน cosin  จำนวนจริงของปริมาณเชิงซ้อน 1.3 เอา Re ออก 1.4 เอาค่า หารตลอด

Example # 3 สัญญาณกระแสมีค่าเป็น จงเขียนในรูปเฟสเซอร์ (โดเมนความถี่) สัญญาณกระแสมีค่าเป็น จงเขียนในรูปเฟสเซอร์ (โดเมนความถี่) จาก ดังนั้น เขียนในรูปเฟสเซอร์ (โดเมนความถี่) เป็น

2. แปลงจากโดเมนความถี่  โดเมนเวลา 2.1 เขียนเฟสเซอร์ให้อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล 2.2 คูณเฟสเซอร์ด้วยตัวประกอบ 2.3 เขียน Re เพื่อระบุว่าเป็นส่วนจำนวนจริง 2.4 เขียนฟังก์ชันในโดเมนเวลาโดยใช้กฎของออยเลอร์

Example # 4 เฟสเซอร์แรงดัน จงเขียนให้อยู่ในโดเมนเวลา ขั้นตอน 1 เขียนให้อยู่ในรูปเอกซ์โพเนนเชียล ขั้นตอน 2 คูณเฟสเซอร์ด้วย จะได้ ขั้นตอน 3 เขียน Re ระบุว่าเป็นส่วนจริงของโดเมนเวลา

ความสัมพันธ์ระหว่างเฟสเซอร์กับความต้านทาน แรงดัน คือ กระแส เป็น จาก จะได้ เอา หารตลอด จะได้

ความสัมพันธ์ระหว่างเฟสเซอร์กับตัวเหนี่ยวนำ จาก จะได้ เอา หารตลอด จะได้ เหมือนกับว่า

ความสัมพันธ์ระหว่างเฟสเซอร์กับตัวเก็บประจุ จาก จะได้ เอา หารตลอด จะได้ เหมือนกับว่า

ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ จะได้

ตารางความสัมพันธ์ระหว่างโดเมนเวลา และโดเมนความถี่ของ R, L และ C

การประยุกต์ใช้เฟสเซอร์กับวงจรที่มีสัญญาณไซนูซอยด์ในสถานะคงตัว จากวงจรในรูป ถ้า จงหา

A หา KCL node A : หา จาก

หาค่า ได้เป็น A

B หา KCL node B : จาก จะได้

หา KVL :

การประยุกต์ใช้เฟสเซอร์กับวงจรที่มีสัญญาณไซนูซอยด์ในสถานะคงตัว # 2 จากวงจรในรูป จงหากระแส แปลงเป็นจำนวนเฟสเซอร์โดย

หา จาก mA ทำเป็นฟังก์ชันไซนูซอยด์ mA หรือ mA