บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.1 ความหมาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
Advertisements

แนะนำรายวิชา ระบบปฏิบัติการ ภาคเรียนที่ 1/2557
Cloud Computing คืออะไร The NIST Definition nist
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
Saving Cost Connection
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
ที่สหกรณ์สมควรจัดให้แก่สมาชิก
การอบรมระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
ICT in KM 03: เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 9 ความปลอดภัยระบบเครือข่าย
ระบบคอมพิวเตอร์.
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การประเมินความสามารถด้านการอ่าน
Security in Computer Systems and Networks
Crowded Cloud e-services: Trust and Security
Introduction to Intelligent Systems
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
Police ilertu Phase 1 ระบบแจ้งขอความช่วยเหลือผ่าน Police ilertu ประชาชน / ชาวต่างชาติ / นักท่องเที่ยว ตำรวจสายตรวจ บนพื้นที่ เจ้าหน้าที่วิทยุ ที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
Basic Java Programming
บทที่ 5 ระบบปฏิบัติการเครือข่าย
Chapter 9 โปรแกรมสำเร็จรูปกับการวิเคราะห์ข้อมูล
Introduction to RapidMiner Studio
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
Electronic Commerce Law กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การทบทวนและซักซ้อมการปฏิบัติงานใน ระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ ระหว่าง ๒ – ๓ มี.ค. ๖๐ ณ ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์กองทัพไทย.
Chapter 7 การสร้างร้านค้าบนเว็บ Edit
การพัฒนาศูนย์พึ่งได้ (OSCC)
Chapter 8 การประชาสัมพันธ์ร้านค้าบนอินเทอร์เน็ต Edit
Multimedia Production
MyEnglishLab Registration (Student)
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ
งานระบบคอมพิวเตอร์และบริการ
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
KM Day กองแผนงาน ระบบแผนงาน Online 12 กันยายน 2557
สิทธิทางปัญญาและจริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 9 กฎหมายพาณิชย์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส Edit
โครงการ “อบรมการปฏิบัติงานด้านงานสารบรรณและการเขียนหนังสือราชการ”
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
ระบบสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
บทที่ 1 ระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) 1.1 ความหมาย
Digital image Processing
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
บทที่ 2 การบริการบนระบบประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing Service)
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
Digital image Processing By Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee
การสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม (การขอ Username/ Password)
การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2561
Digital image Processing By Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ภาวะการณ์ผลิต/การตลาด
ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
สิ่งสนับสนุน (ห้องต่าง ๆ เครื่องมืออุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก)
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
บทที่ 7 การบริการร่วมและรวม Composite Service (CaaS) 7.1 ความหมาย
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
CPU and I/O bursts.
บทที่ 5 การให้บริการโครงสร้างพื้นฐานInfrastructure as a service (IaaS)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.1 ความหมาย SaaS ย่อมาจาก “Software as a Service” หรือเรียกว่า “On Demand Software” คือรูปแบบการให้บริการ ซอฟต์แวร์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต คล้ายกับการเช่าใช้ เพียงแค่ผู้ซื้อจ่ายค่าซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งาน ที่ต้องการ (Pay-as-you-go) เช่น ตามจำนวนผู้ใช้และตามระยะเวลาที่ต้องการใช้ เพียงเท่านี้ผู้ซื้อ ก็สามารถเข้าใช้งานซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้ทันทีผ่านทาง เว็บเบราเซอร์ โดยที่ไม่ต้องติดตั้ง โปรแกรมลงเครื่องเหมือนการซื้อซอฟต์แวร์แบบเดิมที่เป็น ลักษณะการซื้อแบบ License  หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.1 ความหมาย  SaaS มีลักษณะการทำงานภายใต้แนวคิด Cloud Computing เนื่องจากแนวคิด Cloud Computing เป็นการแบ่งปันการเข้าใช้ทรัพยากรต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ตซึ่ง SaaS ก็มีการทำงานที่คล้ายกันคือเป็น การเปิดสิทธิ์ให้ผู้ใช้งานจากทั่วโลกสามารถเข้าถึงทรัพยากร เช่น ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ได้โดยที่ผู้ใช้งานแทบไม่ต้องรู้เลยว่าซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ใช้อยู่นั้นถูกเก็บอยู่ที่ไหน ประมวลผลบน Server หน้าตาเป็นอย่างไร หรือฐานข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ไหนเพียงแค่ผู้ใช้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ก็สามารถ เข้าใช้ซอฟต์แวร์ได้ทันที เข้าถึงฐานข้อมูลเดิมที่เก็บข้อมูลที่สำคัญไว้ได้ทุกที่ทุกเวลา ดังนั้น ในอนาคตหาก เราต้องการจะทำงานในขณะที่อยู่นอกออฟฟิศหรือบนรถโดยสารก็สามารถทำ ได้อย่างไร้ขีดจำกัด เพียงแค่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้เท่านั้น หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.1 ความหมาย หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ประเภท SaaS ทำหน้าที่เหมือนเป็น Host Application โดยเปิดสิทธิ์ให้ลูกค้า (End User) จากทั่วโลกเข้ามาแชร์ การใช้งานซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ร่วมกันผ่านทางเว็บเบราเซอร์ โดยใช้ Username และ Password เพื่อระบุความเป็นเจ้าของซอฟต์แวร์นั้นๆ เพื่อเข้าสู่ระบบในการใช้งานแต่ละครั้ง ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเพิ่มข้อมูลต่างๆ เข้าสู่ระบบและเรียกดูได้ในภายหลัง เมื่อการใช้งานเสร็จสิ้นก็แค่ทำการ Log Out ออกจากระบบ ระบบก็จะถูกปิดและรอการเรียกเข้าใช้ใหม่ในครั้งต่อไป      ตัวอย่างของซอฟต์แวร์ประเภท Saas ที่เป็นบริการฟรี เช่น Web-based Email Service ต่างๆ เช่น Hotmail, Gmail, Yahoo, Facebook, Twitter, eBay, Amazon ที่มีการเก็บโปรแกรมและข้อมูลต่างๆไว้ที่ Host แล้วให้ผู้ใช้สามารถเรียกใช้ application ต่างๆ ผ่านทางเว็บได้ หรือตัวอย่างบริการซอฟต์แวร์ SaaS ที่คิดค่าบริการและได้รับความนิยม เช่น NetSuite, Salesforce, Thinkfree, Zimbra, Zoho, CRMOnDemand ที่คิดค่าบริการการเข้าใช้ซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งาน หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) สามารถเข้าใช้ผ่านเว็บ Browser ผ่านอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี เครื่องคอมพิวเตอร์พกพา (Laptop) หรือโทรศัทพ์มือถือ โดยไม่ต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ที่เครื่องของผู้ใช้ ระบบหลักของ SaaS จะถูกควบคุมจากผู้ให้บริการ SaaS เอง โดยผู้ใช้บริการเพียงแค่ access เข้ามาด้วย Username และ Password เพื่อระบุตัวตนเท่านั้น SaaS คิดค่าบริการตามจำนวนผู้ใช้งานและระยะเวลาที่ต้องการใช้งาน โดยจะไม่มีการเรียกเก็บค่าบริการช่วยเหลือ ค่าแก้ไขบั๊กของโปรแกรม การอัพเดทต่างๆ เพิ่มเติม การปรับแต่งซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งานสามารถทำได้ผ่านโปรแกรม แต่หากผู้ใช้งานต้องการปรับแต่งคุณสมบัติพิเศษ อื่นๆ เฉพาะเพิ่มเติม จำเป็นต้องว่าจ้างโปรแกรมเมอร์ที่มีความเชี่ยวชาญกับโครงสร้างของแอพลิเคชั่นนั้นๆ ปรับแต่งให้ มีลักษณะการใช้งานที่ง่าย มีคู่มือการใช้งานที่ละเอียดและมีหลายภาษา เพื่อรองรับผู้ใช้งานจากทั่วโลก         หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.4 ประโยชน์ด้านผู้ให้บริการ สามารถบริหารจัดการและควบคุมซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น  ลดปัญหาการก๊อบปี้ซอฟต์แวร์จากซีดีได้ 100% เพราะลูกค้าจ่ายเงินตามการใช้งานจริง และได้รับเพียง Username และ Password ในการล็อคอินเพื่อเข้าใช้งานซอฟต์แวร์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต สามารถเรียนรู้พฤติกรรมการใช้ซอฟต์แวร์ของลูกค้าได้อย่างละเอียดและ Real time สามารถอัพเดท ปรับปรุงระบบซอฟต์แวร์ได้ง่าย เพราะสามารถทำที่ฝั่งผู้ให้บริการได้ทันที  ลดปัญหาการติดต่อสอบถามปัญหาการใช้งานของลูกค้าที่เกิดจากการติดตั้ง และการใช้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดการผูกติดกับลูกค้าในระยะยาว เนื่องจากฐานข้อมูลที่สำคัญของลูกค้าถูกเก็บไว้ที่ฝั่งผู้ให้บริการ    หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.5 ประโยชน์ด้านผู้ซื้อ ลดต้นทุนในการซื้อซอฟต์แวร์ เพราะมีลักษณะการคิดค่าบริการแบบ Pay-as-you-go คือจ่ายตามระยะเวลาที่ใช้งานจริง ไม่ต้องจ่ายก้อนใหญ่ทีเดียว  ลดต้นทุนในการซื้อฮาร์ดแวร์ เช่น Server, Harddisk เพราะทั้งหมดนี้ผู้ให้บริการจะเป็นผู้รับผิดชอบ ลดต้นทุนในการจ้างทีมงาน IT ที่มีความเชี่ยวชาญเพื่อการติดตั้ง ดูแลรักษาระบบและแก้ปัญหาซึ่งจะตามมาด้วยค่าสวัสดิการต่างๆ ลดเวลาในการวางแผน ติดตั้ง และดูแลรักษาในระยะยาวเพียงแค่จ่ายค่าบริการ ผู้ซื้อสามารถใช้งานซอฟต์แวร์ที่ต้องการได้ทันที สะดวกในการเข้าใช้ เพราะสามารถเข้าใช้ซอฟต์แวร์ได้ทุกที่ทุกเวลาผ่านเว็บเบราเซอร์ ไม่ต้องคอยอัพเดทโปรแกรมด้วยตัวเอง เพราะผู้ให้บริการจะเป็นผู้ดูแลให้ทั้งหมด   หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) 3.6 ข้อจำกัดด้านการใช้งาน ไม่สามารถเชื่อมต่อกับระบบอื่นๆ ได้อย่างสมบูรณ์ เช่น หากองค์กรนั้นๆ มีระบบภายในแต่เดิมที่ซับซ้อน หรือ หากองค์กรนั้นๆ มีระบบ SaaS อื่นที่ใช้อยู่ การให้ทุกระบบนั้นเชื่อมโยงกันได้อย่างสมบูรณ์เป็นไปได้ยาก เพราถูกพัฒนากันคนละแพลตฟอร์ม การปรับแต่ง (Customization) ยังต้องอาศัยโปรแกรมเมอร์ในการปรับคุณสมบัติให้ตรงตามความต้องการของธุรกิจ ซึ่งอาจจะมีค่าใช้จ่าย เพิ่มเติมในส่วนนี้ เพราะบางองค์กรอาจจะมีกระบวนการดำเนินธุรกิจที่ซับซ้อน    หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี

บทที่ 3 การประยุกต์ใช้ บทที่ 7 การให้บริการซอฟต์แวร์ Software as a service(SaaS) บทที่ 3 3.6 ข้อจำกัดด้านการใช้งาน การประยุกต์ใช้ บทที่ 3 http://www.onlinesoft.co.th/ArticleInfo.aspx?ArticleTypeID=1211&ArticleID=3796 บทที่ 6 https://www.whizlabs.com/blog/best-free-cloud-storage/    การประยุกต์ใช้ บทที่ 7 https://sites.google.com/site/korwten/ggggg หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Computer Science Program : 295 Ratchasima Rd. Suan Dusit University 10300 Thailand โทรศัพท์ : 02 244 5690-1 Web Site--> http://comsci.sci.dusit.ac.th/ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี