C:\Users\STOP\Desktop\Flag Asean\laos3d2.png การศึกษาอัตลักษณ์เครื่องประดับกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อการออกแบบเครื่องประดับร่วมสมัย C:\Users\STOP\Desktop\Flag Asean\laos3d2.png ดร.ศมลพรรณ ภู่เล็ก ทัศนศิลป์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยบูรพา
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับ ได้รับความสนใจและเป็นธุรกิจที่มีอัตราการเติบโตสูง จากข้อมูลสินค้าส่งออกสำคัญ 10 อันดับแรกของไทย ตลาดอัญมณีและเครื่องประดับ มีการแข่งขันกันมากขึ้น ในตลาดโลก ส่งผลให้มีความต้องการสินค้าประเภทอัญมณีและเครื่องประดับมากขึ้น แม้เป็นสินค้าฟุ่มเฟือยแต่ยังคงมีความจำเป็นต่อการดำรงชีพสำหรับบ่งบอกถึงฐานะ สังคมและการชอบส่วนตัวเพื่อเสริมความมั่นใจให้กับผู้สวมใส่
วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิเคราะห์ สังเคราะห์ลักษณะความเป็นอัตลักษณ์เครื่องประดับอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา พม่า ลาว เวียดนาม ไทย บรูไน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไนและฟิลิปินส์ 1 สร้างสรรค์เครื่องประดับจากแนวความคิดอัตลักษณ์เครื่องประดับจากอาเซียน 2 3 ประเมินและสร้างต้นแบบอัตลักษณ์เครื่องประดับอาเซียน
ประโยชน์ของการวิจัย เป็นองค์ความรู้อัตลักษณ์อาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ สร้างฐานข้อมูลการออกแบบเครื่องประดับนำไปต่อยอดขยายผลงานวิจัยต่อไป 1 ได้แนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องประดับที่สื่อถึงอัตลักษณ์อาเซียน เพื่อสร้างแนวโน้มทิศทางเครื่องประดับ 2 ได้ต้นแบบเครื่องประดับที่สื่อถึงอัตลักษณ์อาเซียน เพื่อเป็นแนวความคิดแก่กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ 3
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ภาพต้นแบบเครื่องประดับกัมพูชา เลือกจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน