หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

2551 2552 2553 2554 2555 ประกาศ - เตรียมการ นำร่อง ทั่วไป นำร่อง การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (คำสั่ง ศธ. ที่ สพฐ. 293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551) ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา โรงเรียน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 2551 ประกาศ - เตรียมการ 2552 นำร่อง ทั่วไป 2553 นำร่อง ทั่วไป 2554 นำร่อง ทั่วไป 2555 นำร่อง ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับชั้นทั้งประเทศ ทั่วไป

สพฐ. สถาน ศึกษา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หลักการ จุดหมาย สพฐ. โครงสร้าง หลักสูตรแกนกลาง เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น มาตรฐานการเรียนรู้ 8 กลุ่ม มาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้นที่ 1 - 4 สถาน ศึกษา หลักสูตร สถานศึกษา - ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี/ภาค+สาระการเรียนรู้+สาระท้องถิ่น - ระเบียบการวัดและประเมินผลตามหลักสูตรสถานศึกษา

การปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 วิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สพฐ. สมรรถนะผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ตัวชี้วัดชั้นปี/สาระ (แกนกลาง) ตัวชี้วัด/สาระ (แกนกลาง) ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6 สพท. กรอบสาระท้องถิ่น หลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษา(แกนกลาง + ท้องถิ่น + สถานศึกษา) ร.ร. การวัดและ ประเมินผล การเลื่อนชั้น การจบระดับ ม.ปลาย การจบระดับประถม การจบระดับ ม.ต้น ระดับประถมศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย ข้อกำหนด การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

การบริหารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงสร้างเวลา วิชาเรียน (พื้นฐาน/เพิ่มเติม) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การออกแบบการจัดการเรียนรู้ - หน่วยการเรียนรู้ - แผนการจัดการเรียนรู้ การวางแผนการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การปฏิบัติ คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เวลาเรียนพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80 สุขศึกษาและพลศึกษา 80 80 80 80 80 80 ศิลปะ 80 80 80 80 80 80 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80 ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80 รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 800 800 800 800 800 800 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 120 120 120 รายวิชา/กิจกรรม 6 ปีๆ ละ ไม่เกิน 80 ชั่วโมง เพิ่มเติม * รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,000 ชั่วโมง/ปี

โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) วิทยาศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 1,560 (39 นก.) 840 (21 นก.) 840 (21 นก.) 840 (21 นก.) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 120 120 360 รายวิชา/กิจกรรม 3 ปีๆ ละ ไม่เกิน 240 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 1,560 ชั่วโมง เพิ่มเติม * รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง

การวัดและประเมินผล ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับชาติ.

การวัดและประเมินผลการเรียน การตัดสินผลการเรียน เกณฑ์การจบช่วงชั้น

วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลย์ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ.

หลักการ เพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมาย มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายการพัฒนาเด็กและเยาวชน การศึกษาเพื่อปวงชน เสมอภาค และมีคุณภาพ สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วม มีความยืดหยุ่น เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย เทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์.

จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่น ในวิถีชีวิตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงาม ในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข.

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี.

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ.

กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ.

สาระ/มาตรฐาน และตัวชี้วัดชั้นปี (พื้นฐาน) ระดับประถมศึกษา ระดับ ม.ต้น ระดับ ม.ปลาย มาตร ฐาน รวม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6 ภาษาไทย 5 5 22 27 32 33 35 34 35 32 35 36 321 คณิตศาสตร์ 6 14 14 23 28 29 29 31 27 26 25 32 264 วิทยาศาสตร์ 8 13 16 22 28 21 34 37 42 37 40 68 345 สังคมศึกษาฯ 5 11 34 34 39 38 37 39 44 44 49 63 419 สุข/พล 5 6 15 21 18 19 25 22 23 25 24 29 221 ศิลปะ 3 6 18 25 29 29 26 27 27 27 32 39 279 การงานฯ 4 4 5 10 8 10 13 13 9 9 12 29 123 ภาษาต่างประเทศ 4 8 16 16 18 20 20 20 20 20 21 21 193 รวม 40 67 140 178 200 199 219 223 227 226 238 317 2165

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์.