ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ ยินดีต้อนรับ นางสาวอรษา โพธิ์ทอง ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
ข้อมูลทั่วไป ประวัติหมู่บ้าน บ้านท่าด่านแต่เดิมนั้นผู้เฒ่าผู้แก่เล่าให้ฟังว่า เดิมทีมีลำคลองสายใหญ่ไหลผ่านหมู่บ้าน และมีท่าเรือรับส่งสินค้าประจำ และจะมีด่านตำรวจอยู่ ๑ จุด ชาวบ้านจึงเรียกว่า “ บ้านท่าด่าน ” บ้านท่าด่าน แยกมาจากหมู่ที่ ๒ ตำบลทุ่งค่าย เมื่อปี ๒๕๒๗ มีผู้ใหญ่บ้านคนแรกคือ นายสมบูรณ์ สะดะ ผู้ใหญ่บ้านคนที่ ๒. คือ นายบุญชู นางสวย คนที่ ๓. คือ นายพงศ์พัฒน์ พันธุศักดิ์ เป็นผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน
ข้อมูลทั่วไป มีประชากรจำนวนครัวเรือน 208 ครัวเรือน (จปฐ. ปี2561) มีประชากรจำนวนครัวเรือน 208 ครัวเรือน (จปฐ. ปี2561) ชาย 337 คน หญิง 328 คน รวม 665 คน อัตลักษณ์ บ้านท่าด่านเป็นชุมชนเกษตรกรรมที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นชนบทวิถีไทยแบบผสมผสาน
ข้อมูลทั่วไป หมู่บ้านมีกลุ่มอาชีพที่เข้มแข็ง 1. กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ้า ประธานกลุ่ม นางกนกวรรณ รักจันทร์ 2. กลุ่มขนมปั้นขลิบ ประธานกลุ่ม นางเปี่ยม หิมมะ 3. กลุ่มเลี้ยงปลาดุก ประธานกลุ่ม นางสาวสุธามณี จิตรแหง 4.กลุ่มปุ๋ยหมัก ประธานกลุ่ม นายจรูญ เอียดชะตา อาชีพหลัก การทำสวนยางพารา สวนแบบผสมผสาน อาชีพรอง รับจ้างทั่วไป ค้าขาย รายได้เฉลี่ยตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2561 จำนวน 49,533.83 บาท/คน/ปี ครัวเรือนยากจน ปี 2561 (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท/คน/ปี) ไม่มี
การบริหารจัดการหมู่บ้านสารสนเทศชุมชน บ้านท่าด่าน ม.10 ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวทางการดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้านท่านด่าน
ระดับหมู่บ้าน 1. แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนระดับหมู่บ้าน 2. ดำเนินการตามกระบวนการการทำงาน 5 กระบวนการ - สร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกัน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าใจถึง ความสำคัญของข้อมูล และการใช้ประโยชนข้อมูล - กำหนดความต้องการร่วมกัน - ร่วมกันจัดทำสารสนเทศหมู่บ้านร่วมกันดำเนินการจัดทำสารสนเทศ - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การเผยแพร่และบำรุงรักษา
อุปกรณ์/เทคโนโลยี/สื่อ เพื่อผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ - เฟสบุ๊ค - ไลน์ - ยูทูป - ทีวี / สื่อมวลชน - ลิงค์กับภาคี เช่น พช. /อบต. /กศน. เป็นต้น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ มือถือ เครื่องมืออื่น ๆ บุคลากร เครือข่ายอินเตอร์เน๊ต
การใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศของชุมชนและการเผยแพร่ ด้านสังคม มีการจัดตั้งกลุ่มไลน์ “บ้านท่าด่าน ม.10” ของหมู่บ้านเพื่อแจ้งข่าวสาร นัดหมายและการเผยแพร่ข่าวสารของทางราชการ
ด้านเศรษฐกิจชุมชน มีการใช้เฟซบุ๊ค ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้านส่งเสริมอาชีพเสริม และกิจกรรมต่างๆของหมู่บ้าน
ด้านการท่องเที่ยว มีการเผยแพร่ผ่านระบบเฟซบุ๊ค/แผ่นพับ/กลุ่มไลน์/ทีวีท้องถิ่น
การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม Community Informations Radar Analysis หรือ CIA Program
ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาคุณภาพชีวิต
ผลการวิเคราะห์ระดับคุณภาพชีวิต
วิเคราะห์ แผนงาน โครงการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
จากการนำข้อมูลทั้ง 3 ด้าน คือ จปฐ กชช 2ค และ ของมูลด้านอื่นๆ มาทำการวิเคราะห์ร่วมกันโดยโปรแกรม Community Radar Analysis สรุปผลได้ดังนี้ อันดับที่ 1 การบริหารจัดการชุมชน มีค่าคะแนน 2.29 อันดับที่ 2 การแก้ไขปัญหาความยากจน มีค่าคะแนน 2.30 อันดับที่ 3 ด้านการพัฒนาอาชีพ มีค่าคะแนน 2.38 อันดับที่ 4 ด้านการจัดการทุนชุมชน มีค่าคะแนน 2.39 อันดับที่ 5 ด้านการจัดการความเสี่ยงของชุมชน มีค่าคะแนน 2.50 จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าข้อมูลที่มาจากความต้องการของคนในชุมชนจะอยู่ในช่วงคะแนน 2-3 ถึง 5 ด้าน ซึ่งเป็นช่วงคะแนนที่มีปัญหาปานกลาง ด้านการบริหารจัดการชุมชนที่ค่าคะแนนน้อยสุด คือ 2.29 แสดงว่ามีปัญหามากที่สุดเป็นอันดับ 1 ที่ต้องเร่งแก้ไข
ข้อมูล กชช 2 ค. มีค่าคะแนนอยู่ที่ 2-3 ถึง 4 ด้าน ซึ่งเป็นสภาพปัญหาในระดับปานกลาง สำหรับด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนจะมีค่าคะแนนน้อยที่สุด คือ 1.89 ซึ่งเป็นปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไขเป็นอับดับแรก ข้อมูล จปฐ ค่าคะแนนทั้ง 5 ด้านอยู่ในเกณฑ์ที่มี ปัญหาน้อย จึงไม่เป็นประเด็นปัญหาที่ชุมชนต้องพัฒนา
การจัดทำสารสนเทศภูมิศาตร์ (GIS) การปักหมุดสถานที่สำคัญของบ้านท่าด่าน ม.10 ต.ทุ่งค่าย
แผนที่บ้านท่าด่าน หมู่ที่ 10 ตำบลทุ่งค่าย
การมีส่วนร่วม 1.การร่วมเวทีประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจการใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล 2.การเรียนรู้ในการใช้โปรแกรม CIA 3.การร่วมวิเคราะห์ข้อมูล และการจัดลำดับปัญหาทั้ง 5 ด้าน
กิจกรรมและโครงการที่จัดทำตามผลวิเคราะห์ข้อมูล ชื่อปัญหา(ตัวชี้วัดที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย สาเหตุ แนวทางแก้ไข กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัดที่ 24 คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา -เป็นความเชื่อเรื่องการเลี้ยงต้อนรับ สังคม หรือมีอาการติดสุรา -รณรงค์ให้เห็นถึงพิษภัยของการดื่มสุรา ทำให้เกิดอุบัติเหตุ -นำกิจกรรมด้านกีฬามาให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ตัวชี้วัดที่ 25 คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ -ความเชื่อที่ว่าผู้ชายส่วนใหญ่จะสูบบุหรี่คิดว่าเท่ห์ -เพิ่มกิจกรรมด้านการกีฬาเพื่อลดการมั่วสุมติดบุหรี่ -รณรงค์ให้เห็นถึงโทษภัยของยาเสพติด
ขอบคุณครับ