บทที่ 8 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System(DSS)) - DSS เป็นระบบย่อยของMIS - ช่วยผู้บริหารตัดสินใจเหตุการณ์หรือกิจกรรมที่ไม่มีโครงสร้าง หรือกึ่งโครงสร้าง - ใช้กับบุคคลเดียวหรือช่วยการตัดสินใจในลักษณะกลุ่มก็ได้ - มีระบบสนับสนุนผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ เชิงกลยุทธ์
ระดับการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจระดับกลยุทธ์ - ผู้บริหารระดับสูง 2. การตัดสินใจระดับยุทธวิธี - ผู้บริหารระดับกลาง 3.การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ - ผู้บริหารระดับล่าง การสร้างวิสัยทัศน์ ??? การดูแลยอดขายประจำวัน ??? การตัดสินใจแผนการเงินระยะกลาง ??? การลงทุนในธุรกิจใหม่ ????
ประเภทการตัดสินใจ 1. การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง - มีหลักเกณฑ์ และขั้นตอน ที่กำหนดไว้ อย่างแน่นอน, งานRoutine เช่น TPS 2. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง - เรื่องที่เกิดขึ้นไม่ประจำ ไม่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า เกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย และอนาคต เช่น การผลิตสินค้าใหม่ การลงทุนในตปท. การเลิกกิจการ การประท้วง 3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง - ส่วนหนึ่งนำหลักเกณฑ์ อีกส่วนหนึ่งอาศัยประสบการณ์ของผู้ตัดสินใจ เช่น การวางแผนการตลาด
ประวัติ DSS ประมาณ คศ.1970==> - เริ่มพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ - ระบบเดิม ==> TPS ไม่สามารถช่วยสนับสนุนการตัดสินใจได้ - ลดแรงงาน ทำให้ต้นทุนต่ำลง สร้าง Model ใหม่ ๆ คศ.1980==> - ระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้แพร่หลายออกไป
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) ระบบที่นำซอฟต์แวร์ช่วย - การตัดสินใจด้าน => การจัดการ การรวบรวมข้อมูลและตัวแบบ (Model) ที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน - อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด - การประสานงานการทำงานระหว่างผู้ใช้กับเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ เพื่อแก้ไขปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบกึ่งโครงสร้าง
ลักษณะของระบบ DSS - การตัดสินใจ=> กึ่งโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง - การตัดสินใจ=> กึ่งโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง - ใช้ Operation Research (OR) สร้างตัวแบบสำหรับ=>ทางเลือก - ปัจจุบัน DSS ได้รวมความสามารถ TPS & MIS & สร้างตัวแบบ OR ==> วิเคราะห์ปัญหาและสร้างเครื่องมือในการวิเคราะห์ ให้กับผู้ใช้
การออกแบบ DSS ที่ดี - ช่วยในการพยากรณ์ วางแผนเชิงกลยุทธ์ ==> ผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับกลางสามารถนำไปปฏิบัติได้ - DSS ==> GDSS (Group Decision Support System) - ช่วยหาข้อมูล เลือกข้อมูล ใช้ Model ที่เหมาะสมในวิเคราะห์ข้อมูล - ผู้บริหารทำงานด้วยตัวเอง จะใช้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ให้คำแนะนำ อบรมและสนับสนุนเท่านั้น
เป้าหมายของระบบ DSS 1. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้างและกึ่งโครงสร้าง => ข้อมูลต้องวิเคราะห์และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา 2. ความสามารถในการปรับปรุงข้อมูลตามความต้องการได้ ==> เพื่อช่วยในการตัดสินใจ 3. ง่ายต่อการเรียนรู้และนำไปใช้
ส่วนประกอบของ DSS 1. ฮาร์ดแวร์ =>- Stand-alone => PC, Notebook - คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เชื่อมผ่านสายโทรศัพท์ 2. ซอฟต์แวร์ => - การจัดการฐานข้อมูล - การจัดการตัวแบบ - การจัดการและสร้างการโต้ตอบ - ตัวสร้าง DSS
1. การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) - จะเกี่ยวข้องกับงาน - การปรับปรุงข้อมูล, การดึงข้อมูล, การสร้างรายงาน - จะทำงานร่วมกับระบบย่อย การจัดการโต้ตอบ & การจัดการตัวแบบ - รูปที่ 8.2
ส่วนประกอบการจัดการฐานข้อมูล * ฐานข้อมูล DSS - จากภายนอก - จากบุคคลหรือกลุ่มย่อย - จากฐานข้อมูลภายในบริษัท
2. การจัดการตัวแบบ (Model management component) - ใช้สร้าง รักษา ประยุกต์ => ตัวแบบ DSS - ทำงานกับระบบย่อยการจัดการข้อมูล และระบบย่อยการจัดการโต้ตอบ - รูปที่ 8.3
ระบบย่อยของการจัดการตัวแบบ 1.ซอฟต์แวร์การจัดการตัวแบบ(Model management software) => การสร้างตัวแบบ การปรับปรุงตัวแบบ การใช้ตัวแบบ การรักษาตัวแบบ 2.ฐานข้อมูลตัวแบบ (Model database) => ตัวแบบการเงิน ตัวแบบสถิติ ตัวแบบการตลาด ตัวแบบการจำลองสถานการณ์ ตัวแบบพยากรณ์ ตัวแบบการขนส่ง ฯลฯ
3. การจัดการโต้ตอบ (Dialogue management model) - ทำให้ผู้ใช้ ใช้ง่ายต่อการติดต่อผ่านทางหน้าจอ - ยืดหยุ่น มีการโต้ตอบทั้งการป้อนเข้าและแสดงผล - ทำงานกับระบบย่อยการจัดการข้อมูล และ ระบบย่อยการ จัดการตัวแบบ - รูปที่ 8.4
ส่วนประกอบของการจัดการโต้ตอบ 1. การสนับสนุนส่วนป้อนเข้า => ภาษาคำสั่ง, การป้อนข้อมูล ทางตรง, ตัวเชื่อมผู้ใช้ภาพ, เมนูบนจอ ฯลฯ 2. ซอฟต์แวร์สนับสนุนอุปกรณ์ 3. การสนับสนุนส่วนแสดงผล => กราฟิก การแสดงผลบนจอ หน้าต่างบนจอ การสร้างรายงาน ฯลฯ
การใช้งาน DSS - ดึงข้อมูลจาก ฐานข้อมูลต่าง ๆ เพื่อมาบันทึกข้อมูลใหม่ - อาศัยเครื่องมือทางสถิติ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ * ถ้า-อะไร (What-if Analysis) * การวิเคราะห์เชิงปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence)
การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS development) อดีต - การตัดสินใจจะขึ้นอยู่กับผู้บริหาร - ใช้ TPS ประมวลผลรายการ - เหตุการณ์ไม่แน่นอน อยู่ตลอดเวลา ปัจจุบัน - พัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อช่วยในการตัดสินใจ - ขั้นตอนการพัฒนา DSS ==> รูปที่ 8.5
4. ตัวสร้าง DSS (DSS GENERATORS) ประกอบด้วยระบบย่อย - ระบบย่อยแฟ้มข้อมูล - ระบบย่อยแฟ้มคำสั่ง - ระบบย่อยการสร้างรายงาน - ระบบย่อยตัวแบบ
เครื่องมือในการพัฒนา DSS (DSS development tools) => - ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ - ระบบการจัดการฐานข้อมูล - อุปกรณ์แสดงผล - ภาษาโปรแกรม - เครื่องมือทางสถิติ - ตัวสร้างกราฟิก - โปรแกรมกระดาษทำการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม(Group DSS(GDSS)) * ทำให้มีการใช้ข้อมูลร่วมกันได้ โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร * อาจใช้ LAN, WAN, VDO Conferencing
ส่วนประกอบของระบบ GDSS (รูปที่ 8.7) 1. ผู้ใช้ - ผู้บริหาร 2. ผู้จัดการโต้ตอบ - ผู้ที่ทำให้สมาชิกติดต่อกันได้ 3. ซอฟต์แวร์เครือข่าย (Groupware) - โปรแกรมที่ใช้ในกลุ่ม 4. ตัวประมวลผล GDSS -ทำหน้าที่ประมวลผลของกลุ่มสมาชิก 5. พื้นฐานตัวแบบ GDSS - ตัวแบบคณิตศาสตร์ ตัวแบบการ วิเคราะห์และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับการตัดสินใจกลุ่ม 6. ระบบฐานข้อมูล GDSS - ฐานข้อมูลภายใน&ภายนอกกิจการ
ทางเลือก GDSS ในการตัดสินใจ 1. ห้องตัดสินใจ (Decision room) 2. ระบบเครือข่ายเฉพาะที่ (LAN) 3. เครือข่ายการตัดสินใจทางไกล (Wide area decision network) 4. การประชุมทางไกล (Teleconferencing)
เป้าหมายของ GDSS 1. ง่ายสำหรับผู้ใช้ 2. มีการจัดเตรียมการสนับสนุนทั่วไปและเฉพาะ 3. การส่งเสริมพฤติกรรมกลุ่มในทางบวก 4. กำจัดพฤติกรรมกลุ่มในทางลบ
ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support Systems(ESS)) หรือ (Executive Information Systems(EIS)) - ใช้สำหรับปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง - ข้อมูลมาจากฐานข้อมูลภายในและภายนอก - ผู้บริหารใช้ข้อมูลวิเคราะห์โอกาส อุปสรรค และแนวโน้ม - ใช้สำหรับการวางแผนกลยุทธ์ การวางแผนยุทธวิธี กิจกรรม ปัญหาเฉพาะหน้าที่
สภาพแวดล้อมการตัดสินใจของผู้บริหาร 1. ข้อมูลการประมวลผลรายการ 2. โครงการภายใน 3. ข้อมูลภายนอก
ลักษณะของสารสนเทศที่ใช้บริหารในการตัดสินใจ 1. ขาดโครงสร้าง 2. มีระดับความไม่แน่นอนสูง 3. เน้นอนาคต 4. แหล่งข้อมูลไม่เป็นทางการ 5. ระดับรายละเอียดน้อย
ขั้นตอนการกำหนดความต้องการของระบบ ESSหรือ EIS 1. จำแนกปัญหาที่เกิดขึ้น 2. ประเมินผลกระทบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 3. หาข้อมูลจากดัชนี 3 ใน 5 ประการซึ่งใช้เป็นแนวทางที่ใช้ แก้ปัญหาในแต่ละประเด็น 4. หาศักยภาพของแหล่งสารสนเทศที่ได้ข้อมูลมา 5. ทดสอบทางเลือกต่าง ๆ
ประโยชน์ของระบบ ESSหรือ EIS - ง่ายต่อการใช้งาน โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง - ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์ และ IT ลึกซึ้ง - ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาที่สั้น - ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน - ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ - สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ความสัมพันธ์ DSS & ESS(EIS) DSS==> What..If 3. ESS ==> ผู้บริหารไม่จำเป็นต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์เลย DSS ==> ผู้บริหารต้องมีความรู้คอมพิวเตอร์บ้าง แต่ไม่จำเป็นต้องลึกซึ้ง
Any problem ???