การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
Advertisements

ซ้อมความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติงานในระบบ e-GP ระยะที่ ๒
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี
เรื่อง หลักการและแนวทางทั่วไป การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม – ลดงบประมาณ และ รายการ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
ระเบียบ และ การเบิกจ่ายเงิน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน
การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ
สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
สำนักงานคลังจังหวัดแพงเพชร
The Comptroller General’s Department
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
การบริหารความเสี่ยง ในการบริหารงานพัสดุภาครัฐ
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
การคลังและงบประมาณ นายธเนศ บริสุทธิ์.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
1.
คู่มือการเบิกจ่ายเงิน
สำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
สำหรับใช้งานระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
เหตุใด... ต้องมีการประกาศราคากลาง
มติ ครม. 15 ธค. 58 เห็นชอบแผนปฎิบัติงานโครงการ อบรมฯ ในกรอบวงเงิน 1,064,574,000 บาท -งบกลางฯ 948,150,000 บาท -ปรับแผนฯ ปี ,424,000.
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน ในระบบ GFMIS ณ วันสิ้นปีงบประมาณ พ
การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
การบริหารความเสี่ยง จากการปฏิบัติงานในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-GP)
การจัดหาของกรมพลาธิการทหารบก
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
ประชุมชี้แจงการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ณ ห้องประชุมสุพรรณกัลยา 1 ชั้น 3 วันที่ 1 กันยายน 2560.
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
ขั้นตอนการรับและการเบิกจ่ายเงิน โครงการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกร ตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 นางกุลฤดี พัฒนะอิ่ม ผู้อำนวยการกองคลัง.
รายงานในระบบ GFMIS และการวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง (วิธีตกลงราคา)
เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการ
ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2558
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
เปรียบเทียบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง
The Comptroller General's Department
การจัดเตรียมเอกสาร ประกอบการจัดหาพัสดุของหน่วยงาน
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
หัวข้อที่ 3.2 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และทันตกรรม (ร้อยละ 20) สถานการณ์: ปี
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดระนอง
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กลุ่มบริหารพัสดุและจัดซื้อจัดจ้าง กองบริหารการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 23 พฤศจิกายน 2561

กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง เมื่อหน่วยงานได้รับความเห็นชอบวงเงินงบประมาณที่จะใช้ในการ จัดซื้อจัดจ้าง ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติงานนั้น หากตรวจสอบแล้ววงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างครั้งหนึ่งเกิน 500,000 บาท จะต้องดำเนินการจัดทำแผนจัดซื้อจัดจ้างประจำปีในระบบเครือข่ายสารสนเทศ ของกรมบัญชีกลาง (e-GP) โดยจัดพิมพ์เอกสาร (จากในระบบฯ) การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 (มาตรา 11) และตามระเบียบการทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 11) เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพื่อขอความเห็นชอบ

พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 11 ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงานของรัฐตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่วยงานของรัฐ แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีให้ประกอบด้วยรายการอย่างน้อย ดังต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงการที่จะจัดซื้อจัดจ้าง 2. วงเงินที่จะจัดซื้อจัดจ้างโดยประมาณ 3. ระยะเวลาที่คาดว่าจะจัดซื้อจัดจ้าง 4. รายการอื่นตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด

หน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบแผนการจัดซื้อ จัดจ้างประจำปีโดยให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่ ประกาศเผยแพร่แผนใน 1. ระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง 2. เผยแพร่ในเว็บไซต์ของหน่วยงาน 3. ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ปิดประกาศของหน่วยงาน หากหน่วยงานไม่ได้ประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างโครงการใด ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง จะไม่สามารถดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในโครงการนั้นได้

เปลี่ยนแปลงแผน (ระเบียบฯ ข้อ 13) ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายในการปฏิบัติงานนั้น จัดทำรายงานพร้อมระบุเหตุผลที่ขอเปลี่ยนแปลง เสนอหัวหน้าหน่วยงานเพื่อขอความเห็นชอบ และเมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ให้ดำเนินการตาม ข้อ 11 วรรคสาม ต่อไป

วิธีการซื้อหรือจ้าง (มาตรา 55) มี 3 วิธี 3. วิธีเฉพาะเจาะจง 2. วิธีคัดเลือก 1. วิธีประกาศ เชิญชวนทั่วไป 1.1 วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ e - market 1.3 วิธีสอบราคา 1.2 วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ e - bidding

พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง 15 หมวด 132 มาตรา คำนิยาม 1. บททั่วไป 2. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริต 3. คณะกรรมการ 4. องค์กรสนับสนุนดูแลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ 5. การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ

พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง 15 หมวด 132 มาตรา (ต่อ) 6. การจัดซื้อจัดจ้าง 7. งานจ้างที่ปรึกษา 8. งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง 9. การทำสัญญา 10. การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ 11. การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ

พ.ร.บ. จัดซื้อจัดจ้าง 15 หมวด 132 มาตรา (ต่อ) 12. การทิ้งงาน 13. การบริหารพัสดุ 14. การอุทธรณ์ 15. บทกำหนดโทษ บทเฉพาะกาล

การขยายเวลาเบิกจ่าย กรณีมีหนี้ผูกพัน 04/09/62 การขยายเวลาเบิกจ่าย กรณีมีหนี้ผูกพัน

กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 มาตรา 43,44 มาตรา 43 การขอเบิกจ่ายเงินจากคลังตามงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณใด ให้กระทำได้แต่เฉพาะภายในปีงบประมาณนั้น

ในกรณีที่ไม่สามารถเบิกเงินจากคลังได้ภายในปีงบประมาณ ให้ขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังได้เฉพาะ ในกรณีที่หน่วยรับงบประมาณได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ และได้มีการกันเงินไว้ตามระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลังแล้ว การขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังตามวรรคสอง ให้ขยายออกไปได้อีกไม่เกินหกเดือนของปีงบประมาณถัดไป เว้นแต่มีความจำเป็นต้องขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกล่าว ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเพื่อขอขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินหกเดือน

มาตรา 44 ในกรณีที่เป็นงบประมาณรายจ่ายข้ามปี การขอเบิกเงินจากคลังให้กระทำได้แต่เฉพาะภายในเวลาที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย เว้นแต่เป็นงบประมาณรายจ่ายข้ามปีที่ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นกำหนดเวลา และได้มีการกันเงินไว้ตามระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลัง ก็ให้ขยายเวลาขอเบิกเงินจากคลังต่อไปได้อีกไม่เกินหกเดือน แต่หากมีความจำเป็นต้องขอเบิกเงินจากคลังภายหลังเวลาดังกล่าว ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลังเพื่อขอขยายเวลาออกไปได้อีกไม่เกินหกเดือน

แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการขยายระยะเวลาเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีสำหรับใบสั่งซื้อสั่งจ้าง รอบ 31 มีนาคม ผ่าน GFMIS Web Online ด้วยกรมบัญชีกลางได้พัฒนาระบบ GFMIS ให้รองรับกระบวนการขยายระยะเวลาเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีสำหรับใบสั่งซื้อสั่งจ้างรอบ 31 มีนาคม ผ่าน GFMIS Web Online เพื่อให้ส่วนราชการระดับหน่วยเบิกจ่ายมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน หน่วยงานสามารถดำเนินการคัดเลือก (List) ใบสั่งซื้อสั่งจ้างที่ต้องการขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเงินสำหรับงวด 31 มีนาคม ต่อไปอีก 6 เดือน อย่างไรก็ตามในส่วนของการยืนยันยังคงต้องแจ้งส่วนราชการต้นสังกัดในส่วนกลางดำเนินการ (Confirm) รายการดังกล่าวผ่านเครื่อง GFMIS Terminal ในฐานะส่วนราชการเจ้าของงบประมาณตามปกติ

แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการขยายระยะเวลาเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีสำหรับใบสั่งซื้อสั่งจ้าง รอบ 31 มีนาคม ผ่าน GFMIS Web Online ในระหว่างที่ส่วนราชการต้นสังกัดยังไม่ยืนยัน (Confirm) รายการดังกล่าว ส่วนราชการในระดับหน่วยเบิกจ่ายสามารถยกเลิกการขยายระยะเวลาการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีสำหรับใบสั่งซื้อสั่งจ้างบางรายการได้ ผ่าน GFMIS Web Online หากส่วนราชการต้นสังกัดในส่วนกลางดำเนินการยืนยัน (Confirm) รายการดังกล่าวแล้ว และยังคงมีความประสงค์จะยกเลิกรายการดังกล่าวให้แจ้งกรมบัญชีกลางยกเลิกรายการก่อนที่จะขยายระยะเวลาเบิกจ่ายเงินต่อไป

ข้อมูลเพิ่มเติม แนวทางการขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน กลุ่มบริหารงบประมาณ กองบริหารการคลัง จะแจ้งเวียนให้ทราบเมื่อใกล้ครบกำหนดขอขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน การอนุมัติให้ขยายเวลาเบิกจ่ายเงินขึ้นอยู่กับนโยบายของกระทรวงการคลัง

ปัญหาอุปสรรคในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง 1. ไม่มีบุคลากรที่มีความรู้ด้านกฎหมาย ปฏิบัติงานด้านพัสดุ ซึ่งจำเป็นต่อการปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ. กฎ ระเบียบฯ ต่าง ๆ ในการจัดซื้อจัดจ้าง 2. มีผู้เสนอราคาเพียงรายเดียวหรือมีผู้เสนอราคาแต่ผ่านการคัดเลือกเพียงรายเดียว และหรือไม่มีผู้เสนอราคา หรือมีแต่ไม่ถูกต้องตรงตามเงื่อนไขที่กำหนด เป็นเหตุให้ยกเลิกการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ไม่สามารถ ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างได้ทันตามกำหนดเวลา หรือทำให้ต้องดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างหลายครั้ง 3. กฎกระทรวง ระเบียบ วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง แนวทางปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างที่เปลี่ยนไปภายใต้ พ.ร.บ. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ซึ่งต้องยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติหลายฉบับ เช่น ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560, กฎกระทรวง ฯลฯ 4. การจัดซื้อจัดจ้างตาม พ.ร.บ. กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง กรมบัญชีกลางไม่กำหนดแนวทางปฏิบัติที่มีความชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการจัดซื้อจัดจ้าง 5. การเชื่อมต่อกับระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP) ไม่มีความเสถียร ทำให้ไม่สามารถบันทึกข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างลงในระบบได้ เนื่องจากระบบ อยู่ระหว่างการปรับปรุงให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. และ ระเบียบฯ ใหม่

* ข้อควรระวัง * ตามมาตรา 66 วรรค 2 และมาตรา 117 เว้นระยะเวลาอุทธรณ์ก่อนทำสัญญาภายใน 7 วันนับแต่ วันประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหน่วยงาน ห้ามดำเนินการทำสัญญาในระยะเวลาที่อุทธรณ์ 2. การรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง - ครุภัณฑ์ ที่มีราคาเกิน 100,000 บาท - ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง ที่มีราคาเกิน 1,000,000 บาท จะต้องจัดทำและรายงานแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างตามแผน และจัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 15 ตุลาคม ของทุกปี และส่งสำเนาให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรือสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินส่วนภูมิภาค แล้วแต่กรณี จำนวน 1 ชุด ตามประกาศคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เรื่อง การจัดทำแผนปฏิบัติการ จัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2546 ลงวันที่ 29 มกราคม 2546

* ข้อควรระวัง (ต่อ) * 3. เอกสารที่หน่วยงานในส่วนภูมิภาคแจ้ง ขอขยาย/กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ส่งมาไม่ครบถ้วน ทำให้การดำเนินการต้องล่าช้า ซึ่งเอกสารที่ส่งมาต้องประกอบด้วย - ใบ List รายการในระบบ GFMIS - ใบแจ้งรายละเอียดการขอขยาย/กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี - สัญญา - ใบ PO 4. ในการส่งเอกสารมาให้กองบริหารการคลังดำเนินการ ขอขยาย/กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี มาถึงล่าช้ากว่าที่กำหนดไว้ในหนังสือที่แจ้งไป 5. หน่วยงานควรตรวจสอบจำนวนเงินใน PO ที่แจ้งมาขอขยาย/กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ว่าได้เบิกจ่ายไปบ้างแล้วหรือยัง และตรงกับจำนวนเงินที่แจ้งขอขอขยาย/กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ของ PO ดังกล่าว หรือไม่

กลุ่มบริหารพัสดุและจัดซื้อจัดจ้าง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กองบริหารการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ขอบคุณค่ะ