การเมืองไทยในปัจจุบัน SOC 109 ชุดที่ 3 การเมืองไทยในปัจจุบัน และการวิเคราะห์การเมืองไทย
ความน่าเชื่อถือ มีน้ำหนักมาก – น้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับ ความน่าเชื่อถือ มีน้ำหนักมาก – น้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับ ความรู้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ทาง C. Po. S. Eco. ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ ช่วยให้เห็นความหมาย นัยต่างๆ การวิจัยเชิงประจักษ์ พิสูจน์ และเสริมน้ำหนัก
โครงสร้างและสถาบัน สถาบัน K. มีมากว่า 700 ปี สถาบันทำหน้าที่ถ่วงดุล ไม่ให้เกิด การใช้อำนาจเผด็จการ ระบบศักดินา และไพร่ ควบคู่กับสถาบัน K. การจัดระเบียบการเมือง การบริหาร & Eco. เป็นกลไกสำคัญในการควบคุมอำนาจทางการเมือง จัดแบ่งฐานะ ตำแหน่ง เป็นดัชนีชี้วัดทางสังคม
สถาบันขุนนาง (เปรียบเทียบได้ว่า ข้าราชการ (Bureaucrat) แปลว่า การาธิปัตย์ = องค์การ + อธิปัตย์ คือการจัดตั้ง ปฏิบัติตามนโยบายในรูปแบบอุดมคติ (Ideal-type) ข้าราชการไทยมีลักษณะที่มีค่านิยม คุณลักษณะ พฤติกรรมพิเศษ ที่เป็นชนชั้น (Class) ภาคภูมิใจ ความรู้สึกผูกพันกับ ศักดิ์ศรี ฐานะระดับ เครื่องแบบประดับเกียรติยศ เช่น สายสะพาย อดีต (นั่งเสลี่ยง) ปัจจุบัน (นั่งรถเก๋งราคาแพง) สถานะอาจารย์และข้าราชการ (ขุนนาง) แต่นิยมถือตนว่าเป็นข้าราชการ > อาจารย์
อุดมการณ์ทางการเมือง สมัยโบราณ ใช้ ความเชื่อทางศาสนาเพื่อประโยชน์ทางการเมือง สุโขทัย ใช้ ไตรภูมิพระร่วง อยุธยา ใช้ มหาชาติคำหลวง , พระมาลัยคำหลวง เพื่อ กล่อมเกลาพลเรือน , การสร้างความชอบธรรมให้กับผู้ปกครอง และชนชั้นสูงของสังคม, หลักของกรรม + การสร้างสมบารมี สรุป ศาสนา เป็นเครื่องมือกล่อมเกลาให้คนอยู่ในกรอบศีลธรรม เพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม
การเสียดุลของระบบ ถือเป็นจุดสำคัญของระบบ ถ้าโครงสร้างของ S. ไม่สมดุลกับโครงสร้างทาง Eco. จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ตัวอย่าง สังคมญี่ปุ่น ยุคเอโดะ , ยุคโตกูงาวะ ประสบปัญหาทาง Eco. เติบโตรวดเร็วของกลุ่มพ่อค้า หรือ การเสียอำนาจทาง Eco. ของกลุ่มซามูไร นำไปสู่การล้มระบบโตกูงาวะ
ไทย ปลายอยุธยาก่อนกรุงแตก เสียดุล เพราะ เปลี่ยนแปลงทาง S, Eco. - เริ่มค้าขายกับจีนมาก ข้าว เกิดการค้าภายใน รวบรวมสินค้าส่งออก - ไพร่ ที่มีฐานะจากการค้า เปลี่ยนเป็นจ่ายเงินแทนการเข้าเวร เพราะไพร่มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาก (การเบียดบังไพร่) ขุนนางและเจ้า ค้าขายกันร่ำรวย - การคุมกำลังกระทบกระเทือน - ไพร่หลวง ระดมพลเข้าสู้รบพม่า ระดมลำบาก คือ สาเหตุหนึ่งของการเสียกรุง
ยุค 14 ต.ค. 2516 การเปลี่ยนแปลงทาง Eco,S. ตั้งแต่สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ถึง 14 ต.ค. 16 แต่การเมืองไม่พัฒนา (แช่แข็ง) ปรับตัวไม่ทันจนนำไปสู่วิกฤตการณ์ 24 มิ.ย. 2475 ถึง ร.5 เน้นพัฒนาการบริหารและระบบราชการ แต่ขาดการพัฒนาสถาบัน การเมือง ในแง่การมีส่วนร่วม
โครงสร้างวัฒนธรรมทางการเมือง และพฤติกรรมทางเมือง วัฒนธรรม กับ วัฒนธรรมทางการเมือง มีความใกล้ชิด วัฒนธรรม กับ ค่านิยมทางสังคมหลายแง่มุม เป็นวัฒนธรรมทางการเมือง การนับอาวุโส พฤติกรรมทางครอบครัว จนอาวุธปัจจุบัน ความเชื่องมงาย (ไสยศาสตร์) แต่หลังกิ่งพุทธกาล สังคมเสื่อม คนโง่ลด จะเริ่มเสื่อมคลายความเชื่อ นรก-สวรรค์ การถือโชคลาง ถือ เคล็ด ชะตา ขัดกับหลักวิทยาศาสตร์และวิทยาการสมัยใหม่
กิจการพระเครื่องเจริญรุ่งเรือง พระสงฆ์เคร่ง มีชื่อเสียง มีเหรียญบูชา ดร. ชอบพระเครื่อง นักฟิสิกส์ ไทย พยายามทำเครื่องจับผี การเคลื่อนรถถัง และทหารจะปฏิวัติ ตามหลักวิชาการ + ฤกษ์โหราศาสตร์ การทำฝนเทียมตามหลักวิชาการ เพิ่มผลผลิต เจ็บป่วย ไข้ มีการเป่ากระหม่อม ด้วยกำลังใจ ทำให้... กิจการพระเครื่องเจริญรุ่งเรือง พระสงฆ์เคร่ง มีชื่อเสียง มีเหรียญบูชา
อำนาจ และการสืบทอดอำนาจ (อำนาจนิยม) ใช้ความเด็ดขาดเด็ดเดี่ยว ได้รับการชื่นชม แต่ ประชาธิปไตย คือ วัฒนธรรมของการออมชอม เจรจาต่อรอง หาข้อยุติ ระบบ K. (สมบูรณาญาสิทธิราชย์ K. คือ เจ้าชีวิต ) จักรพรรดิ เป็นสมมุติเทพ ปกครองด้วยธรรมะ การลงโทษด้วยความรุนแรง เพื่อต้องการให้กลัว (ลาว K. เจ้ามหาชีวิต) เช่น การประหารเจ็ดชั่วโคตร การบริหาร ผู้นำต้องเด็ดขาด พระเดช (อำนาจ) พระคุณ (ธรรมะ)
ผู้นำ บารมี และระบบอุปถัมภ์ (Patron-client System) วัฒนธรรม การเมืองของไทย เป็นมรดกตกทอด และน่าจะเหมาะสมกับไทย พูดถึง สังคม จีน ครอบครัว สังคม ญี่ปุ่น บริษัท สังคม ฝรั่ง ความสามารถ สังคม ไทย พรรคพวก เพื่อนฝูง ระบบอุปถัมภ์ คอยช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีผู้ปกป้อง คุ้มครอง ดูแล มีนาย สังกัด ซุ้ม แก๊ง
มีบารมีมาก ก็สร้างบริวารได้มาก เพื่อคุ้มกัน คุ้มครองผลประโยชน์ มีบารมีมาก ก็สร้างบริวารได้มาก เพื่อคุ้มกัน คุ้มครองผลประโยชน์ เช่น จอมพลถนอม ประภาส ณรงค์ เพิ่มอำนาจ บารมี พึ่งบุญบารมี เรียกว่า “คนมีเส้น” คือวงโคจรของระบบถึงปัจจุบัน ในหมู่ทหาร - ข้าราชการพลเรือน
พฤติกรรมทางสังคม / พฤติกรรมทางการเมืองของคนไทย สังคมไทยมีโครงสร้าง ค่อนข้างแข็งกระด้าง และพัฒนา พฤติกรรมลักษณะหลวม คือ ลักษณะปัจเจกนิยมสูง ขาดความรับผิดชอบ ต่อสังคม และองค์กร ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไม่รักษาเวลา ทิ้งงานโดยไม่มีเหตุผลพอเพียง เลี่ยงสัญญา ไม่คำนึงถึงคุณภาพของงาน
จึงมีผลต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย มีสุภาษิตของยอดกวีเอก “ รู้รักษาตัวรอด เป็นยอดดี ” คนไทยคบกันด้วยฐานะสูงต่ำ (แบบแนวดิ่ง) ดูฐานะทางสังคม แทนที่จะคบกันแบบเสมอภาค พฤติกรรมทางการเมือง คือ การเปลี่ยนตัวผู้อุปถัมภ์ เปลี่ยนพรรคในลักษณะจิ้งจกเปลี่ยนสี เปลี่ยนสถานการณ์ใหม่ จะปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ สภาพแวดล้อมใหม่ เช่น การดำเนินนโยบายต่างประเทศ การจัดกระบวนอำนาจของประเทศมหาอำนาจต่างๆ
การเปลี่ยนสังกัด จากคนตกอับทางการเมือง สู่คนที่กำลังรุ่งโรจน์ จากคนตกอับทางการเมือง สู่คนที่กำลังรุ่งโรจน์ การจัดโครงสร้างแบบไพร่ กฎเกณฑ์แรงงาน ไม่ได้รับ ค่าตอบแทน ไม่สามารถได้รับความ จงรักภักดี ร.5 เลิกระบบไพร่ ร.6 เริ่มใช้นามสกุล , ธงชาติไทย (ธง 3 สี)
การพัฒนาทางการเมือง (political development). คือ การจัดตั้ง สถาบัน ขึ้นมารองรับ และจัดระเบียบการมีส่วนร่วมทางการเมือง ผลจากการตื่นตัวทางการเมือง (poitical modernization) การขยับตัวของสังคม (Social mabilization) อันได้แก่ ชุมชนเมือง การเพิ่มของคนรู้หนังสือ การเกิดชนชั้นใหม่ การย้ายถิ่น
การขยับตัวของสังคม ความเจริญทางการเมือง การมีส่วนร่วมทางสังคม การพัฒนาการเมือง Social mobilization Political mobilization Political partieipation Political Developmant ถ้าขาดการพัฒนาการเมือง คือ ขาดสถาบัน ที่มาจัดระเบียบ การมีส่วนร่วม พรรคการเมือง คือ ขาดสถาบันที่มาจัดระเบียบการมีส่วนร่วม พรรคการเมือง,กลุ่มผลประโยชน์ จะช่วยทำให้การเรียกร้องต่อระบบการเมืองเพื่อตอบสนองได้
ระบบการเมือง ที่วางนโยบาย คือสถาบันการเมืองหลัก P. สถาบันการเมือง สถาบันข้าราชการ สถาบันการเมืองหลัก
โครงสร้างและกระบวนการ การเมืองไทย วัฒนธรรมชาติไทย สถาบัน K. สถาบันศาสนา กลุ่มพลังการเมืองนอกแบบ P. สถาบันการเมืองคั่นกลาง สถาบันข้าราชการ สถาบันการเมืองหลัก รัฐบาล รัฐสภา รัฐธรรมนูญ กระบวนการประชาธิปไตย วัฒนธรรมการเมือง อุดมการณ์ พรรค กลุ่ม สื่อมวลชน กลุ่มธุรกิจ กระทรวง ทบวง กรม ข้าราชการพลเรือน ทหาร ตำรวจ รัฐวิสาหกิจ
สุภาษิตของชาววิลันดา “The present is conceived in the past and is conceiving the future” “สิ่งที่เห็น และสังเกตอยู่ในวันนี้นั้น จะเข้าใจได้ดี ถ้ามองกลับไปเมื่อวาน การมองกลับไปเมื่อวานเพื่อความเข้าใจวันนี่ น่าจะเป็นประโยชน์ต่อการเข้าใจพรุ่งนี้ดียิ่งขึ้น”