การศึกษาแบบภาพตัดขวาง Cross-sectional study

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาแบบภาพตัดขวาง Cross-sectional study /Prevalence studies

นิยาม เป็นรูปแบบการศึกษา ที่แสดงให้เห็นสภาพปัญหาในขณะนั้นและเป็นการสะท้อนสภาพในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา แต่ไม่สามารถทราบว่าตัวแปรใดเป็นสาเหตุ หรือเป็นผลและไม่ทราบว่า exposure หรือ outcome สิ่งใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง

ความสำคัญ 1. ความผิดปกติที่เกิดขึ้น 2. วิธีการรักษาสุขภาพ การศึกษาภาคตัดขวาง เป็นการศึกษาเชิงสำรวจในกลุ่มคน หรือประชากร ตามสภาวการณ์ที่เป็นจริง ในระยะเวลาที่กำหนด การสำรวจดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบ 1. ความผิดปกติที่เกิดขึ้น 2. วิธีการรักษาสุขภาพ 3. สภาพของสุขภาพที่ชี้บ่งชี้ถึงสุขภาพ 4. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วย และปัญหาสุขภาพ

คุณสมบัติเฉพาะของการศึกษาภาคตัดขวาง 1.exposure และ outcome จะถูกวัดพร้อมๆกัน 2. ข้อมูลที่ได้เกิดจากการวัดตัวอย่างที่ศึกษาเพียงครั้งเดียวในช่วงเวลาสั้นๆ (snapshot) 3. การศึกษาเป็นการสำรวจเป็นส่วนใหญ่ จึงไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ระหว่าง exposure และ outcome ได้

ประโยชน์ของการศึกษาภาคตัดขวาง 1.ส่งเสริมสุขภาพโดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ รวมถึงประชากรที่สนใจ 2. การดูแลทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย 3. ได้รับความรู้ใหม่ เพื่อนำไปขยายผลสู่การศึกษาค้นคว้าต่อไป

รูปแบบการศึกษาภาคตัดขวาง 1.การศึกษาภาคตัดขวางเชิงพรรณนา 2. การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์

แผนภูมิการศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ Reference population Sampling / No sampling Measure Exposure and Outcome at the same time Exposure outcome Exposure no outcome No Exposure outcome No Exposure No outcome

วิธีการศึกษา 1.กลุ่มประชากรเป้าหมาย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง 1.กลุ่มประชากรเป้าหมาย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง 1.1 sample random sampling 1.2 systematic sampling 1.3 stratified sampling 1.4 cluster random sampling 2.วิธีการเก็บข้อมูล 1. การตรวจ

วิธีการศึกษา 2.วิธีการเก็บข้อมูล 2.1 การตรวจร่างกาย การตรวจพิเศษเฉพาะทาง การใช้ห้องปฏิบัติการ รวมทั้งการเฝ้าสังเกตอาการ 2.2 การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม 2.3 บันทึกรายงานต่างๆ เช่น เวชระเบียน บันทึกการตรวจสุขภาพ รายงานสถิติต่างๆ

การเก็บข้อมูล 1.การวัด exposure 1.1 วัดจากแบบสอบถาม บันทึกรายงาน ผลจากห้องปฏิบัติการ การตรวจร่างกาย การตรวจพิเศษ เช่น ☻การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่ กับความชุกของเกิดโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง จะวัดการสูบบุหรี่ จากการใช้แบบสอบถาม ☻การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง uric acid กับอาการข้ออักเสบ (arthritic disorders) จะวัด uric acid จากการทดสอบทางห้องปฏิบัติการ

การเก็บข้อมูล 2.การวัด outcome ☻แบบสอบถาม ☻ ตรวจร่างกาย ☻ การตรวจพิเศษ 3. สถิติที่ใช้ ได้แก่ mean, S.D., median, percentile, quartile, prevalence, proportion, และ ratio

การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ การวัดความสัมพันธ์ มี 2 รูปแบบ 1.พิจารณาจากปัจจัยที่ได้รับ 2.พิจารณาจากสถานะของตัวอย่าง

ความสัมพันธ์ระหว่าง ขาดการออกกำลังกาย กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มชายเจ้าของฟาร์ม อายุระหว่าง 40-74ปี การศึกษาภาพตัดขวาง เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการขาดออกกำลังกายกับโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มเจ้าของฟาร์ม ขาดการออกกำลังกาย CHD+ CHD- รวม ใช่ 14(a) 75(c) 89(a + c ) ไม่ใช่ 3(b) 87(d) 90(b+d) 17(a + b) 162(c + d) 179 (n )

การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ 1.อัตราความชุกของโรคระหว่างกลุ่มexposed กับ unexposed คือ prevalence ratio= PR) ความชุก(prevalence)ที่จะเกิด CHD ในกลุ่มที่มี exercise inactive คำนวณจากสูตร prevalence(exposed) = ผู้ที่ได้รับปัจจัยและผู้ป่วย ผู้ที่ได้รับปัจจัยทั้งหมด = a /a+c

ตัวอย่างการวิเคราะห์ Measures of association and impact (study of population). Fictional data on headaches and exposure to fumes. fumes headaches No headache total Present absent 10 50 (a) (b) 90 850 (c) (d) 100 900 (a+c) (b+d) 60 (a+b) 940 (c+d) 1,000 (n)

การศึกษาภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ 1.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของอัตราความชุกและอุบัติการณ์ (prevalence rate= PR) prevalence(exposure) = a/(a+c) prevalence(unexposure) = b / (b + d ) prevalence rate(PR) = a/(a+c) b / (b + d )

ความสัมพันธ์ของอัตราความชุกและอุบัติการณ์ prevalence rate(PR) = a/(a+c) b / (b + d ) =10/(100) 50 / (900 ) = 1.8 แปลผล : กลุ่ม exposure จะมีความชุกของการเป็นโรค 1.8 เท่าของกลุ่มที่ไม่ exposure

การแปลความหมาย สมมติฐาน: การได้รับ fume ไม่มีความสัมพันธ์การเกิดอาการปวดศรีษะ ถ้า PR=1 หมายถึง ความชุกของกลุ่มได้รับ fume และไม่ได้รับ fume มีการเกิดอาการปวดศรีษะเท่ากัน นั่นคือ การได้รับ fume ไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดอาการปวดศรีษะ ถ้า PR> 1 หมายถึง ความชุกของกลุ่มได้รับ fume มีมากกว่ากลุ่มไม่ได้รับ fume ถือว่าเป็น hazardous exposure ถ้า PR< 1 หมายถึง ความชุกของกลุ่มได้รับ fume มีน้อยว่ากลุ่มไม่ได้รับ fume ถือว่าเป็น beneficial exposure

ช่วงแห่งความเชื่อมั่น (confidence interval) สูตรคำนวณ 95% CI of PR =(PR)exp(±1.96 𝑉𝐴𝑅 𝐼𝑛𝑃𝑅 ) เมื่อ VAR (InPR) = 1/a – 1/(a+c)+1/b – 1/(b+d) InPR =Natural logarithm transformation of prevalence ratio exp (InPR) = PR exp = exponential transformation เป็นส่วนกลับของ Natural logarithm

ช่วงแห่งความเชื่อมั่น (confidence interval) VAR (InPR) = ค่าประมาณความแปรปรวนของ natural logarithm ของ prevalence ratio (PR) การแปลผลค่า 95% CI ถ้า ค่า PR เบ้ขวา ( 0 ถึง 1 เป็น positive skewness ถือว่าเป็น beneficial effect) ถ้า ค่า PR อยู่ในช่วง 1 ถึง infinity เป็น hazardous effect ถ้าในช่วงความเชื่อมั่นไม่มีค่า 1 อยู่ด้วย แสดงว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน และยอมรับ null hypothesis ที่ตั้งขึ้นว่า exposure และ outcome ไม่มีความสัมพันธ์กัน

ถ้าค่า 95% CI ไม่มีค่า 1 อยู่ด้วยแสดงว่า มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และปฏิเสธ null hypothesis ที่ตั้งขึ้น exp (InPR) = 1/14 – 1/(89)+1/3-1/(90) = 0.382 95% CI of PR = (4.72) exp (± 1.96 0.382 ) Lower bound = (4.72) exp (- 1.96 0.382 )= 1.40 upper bound = (4.72) exp (+ 1.96 0.382 )= 15.86 สรุปผล เนื่องจากค่า 95% CI ไม่มีค่า 1 อยู่ด้วยแสดงว่า การขาด