บทที่ 8 พัลส์เทคนิค 31052002.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Advertisements

PHPPHP การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีการจัดการ.
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ซึ่งวัตถุอันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ.
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
หน่วยที่ 1 อุปกรณ์อินพุท/เอ้าท์พุทเซนเซอร์และวงจรควบคุม
หน่วยที่ 5 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปร่วมกับเซนเซอร์
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่า ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำ เข้า ผู้ส่งออก.
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
CHAPTER 18 BJT-TRANSISTORS.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
บทที่ 7 วงจรไบอัสกระแสตรง
Material requirements planning (MRP) systems
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
SR Latch SR Latch ต้องรอ negative edge เพื่อให้ Q = D Y = D Q = Y.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การศึกษาชีววิทยา.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Flip-Flop บทที่ 8.
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
Digital Circuit & Logic Design สอนโดย รศ. ดร
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ประวัติของ ชาลส์ ดาร์วิน และ ผลงาน.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Basic Input Output System
บทที่ 10 พัลส์เทคนิค
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 2 เครื่องโทรศัพท์.
ชุดแบตเตอรี่แรงดันสูงและแบตเตอรี่เสริม ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
มาฝึกสมองกันครับ.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
บทที่ 10 วงจรรายได้.
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 พัลส์เทคนิค 31052002

ความหมายของวงจรมัลติไวเบรเตอร์ วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ การทริกเกอร์วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ การออกแบบวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ พัลส์เทคนิค 31052002

1. บอกความหมายของวงจรมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง 2. อธิบายหลักการทำงานของวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ ได้ถูกต้อง 3. บอกวิธีการทริกเกอร์วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง 4. ออกแบบวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง 5. ยกตัวอย่างการใช้งานวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ได้ถูกต้อง พัลส์เทคนิค 31052002

คำว่า Bi มีความหมายว่า “สอง” ส่วน Stable มีความหมายว่า “สถานะ ” ดังนั้นวงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ เป็นวงจรมัลติไวเบรเตอร์ชนิดหนึ่งที่มีสภาวะการทำงาน 2 สถานะ บางครั้งเรียกว่า ฟลิบฟลอบ หรือวงจรไบนารี สถานะการทำงานจะเปลี่ยนแปลงได้จะต้องอาศัยการทริกเกอร์จากสัญญาณภายนอก พัลส์เทคนิค 31052002

วงจรมัลติไวเบรเตอร์ เป็นลักษณะวงจรสวิตช์สองวงจรต่อร่วมกัน โดยสัญญาณเอาต์พุตของสวิตช์ตัวที่ 1 จะไปควบคุมการทำงานของสวิตช์ตัวที่ 2 และสัญญาณเอาต์พุตของสวิตช์ตัวที่ 2 จะต่อมาควบคุมการทำงานของสวิตช์ตัวที่ 1 ลักษณะการทำงานของสวิตช์สองตัวนี้จะมีสภาวะตรงข้ามกันเสมอ ซึ่งสามารถเขียนเป็นบล็อกไดอะแกรมได้ดังรูป พัลส์เทคนิค 31052002

บล็อกไดอะแกรมที่แสดงลักษณะการทำงาน ของวงจรมัลติไวเบรเตอร์ พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002 วงจรไบสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ วงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

Astable; สถานะไม่คงที่ , ทำงานตลอดเวลา (Free Running)สถานะเอาต์พุตผลิตสัญญาณ รูปสี่เหลี่ยมที่สมมาตรหรือไม่สมมาตร (Symmetrical or Asymmetrical Square waves) Mono Stable; 1 สถานะ, หลังจากทริกเกอร์ สถานะเอาต์พุต ความถี่อินพุตเท่ากับความถี่เอาต์พุต (Frequency In = Frequency Out) Bi Stable; 2 สถานะ, T1 OFF, T2 ON or T1 ON, T2 OFF สถานะเอาต์พุตความถี่เอาต์พุตเท่ากับครึ่งหนึ่งของความถี่อินพุต ( is ½ of the Input. Triggered) พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

ลักษณะวงจรการทริกเกอร์สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ลักษณะวงจรการทริกเกอร์สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ 1) วงจรทริกเกอร์แบบไม่สมมาตร (Asymmetrical Base Triggering) พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

Frequency Out is ½ the Input. 2 Stable States; Frequency Out is ½ the Input. C6 .001f C8 .001f R11 10 K R18 R13 22 K R16 22 K R12 1.5 K R15 C5 .001f C7 .001f R14 & 17 22 K D4 D5 T24 T1 E Vcc BISTABLE: 2 stable states; Q3 on Q4 off, or Q4 on Q3 off. R12 & 15; Collector Load Resistors. R17 & 13; DC Base Bias for Q4. R14 & 16; DC Base Bias for Q3. C5 & 7; Quick Coupling Caps, Quick Change in conduction also enables Squaring of the waveform. R11 & 18; Provides a means of biasing CR4 & 5. R11 & C6; Forms a Differentiator Ckt, in conjunction w/ Cr4 enables the input trigger to change of state. R18 & C8; Forms a Differentiator Ckt, in conjunction w/ Cr5 enables the input trigger to change of state. Cr4 & Cr5; Steering Diodes, [See previous 2 entry's] Allows Neg pulse to change conduction of Q4 or 3, only 1 is biased forward @ a time to allow the change of conduction to take place. พัลส์เทคนิค 31052002

จนกว่ามีการทริกเกอร์อีกครั้ง. Frequency Out is ½ the Input. 4 Stable State; T1 On,T2 OFF จนกว่ามีการทริกเกอร์อีกครั้ง. C6 .001f C8 .001f R11 10 K R18 R13 22 K R16 22 K R12 1.5 K R15 C5 .001f C7 .001f R14 & 17 22 K D4 D5 T2 T1 E O 1 2 a b 3 Frequency Out is ½ the Input. พัลส์เทคนิค 31052002

Frequency Out is ½ the Input. หลังจากมีการทริกเกอร์. C6 .001f C8 .001f R11 10 K R18 R13 22 K R16 22 K R12 1.5 K R15 C5 .001f C7 .001f R14 & 17 22 K D4 D5 Q4 Q3 E O 3 b 1 2 a RB FB Frequency Out is ½ the Input. สถานะของวงจร T2 On, T1 OFF หลังจากมีการทริกเกอร์. . 4 Wave Form พัลส์เทคนิค 31052002

Frequency Out is ½ the Input. Q4 B Q3 B Frequency Out is ½ the Input. Input @ 440 KHz Differentiated @ 440 KHz Rectified @ 220 KHz Output @ 220 KHz Q3 Q4 พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002

พัลส์เทคนิค 31052002