นโยบายความปลอดภัยทางถนน และการพัฒนาระบบข้อมูล นโยบายความปลอดภัยทางถนน และการพัฒนาระบบข้อมูล ชยันต์ ศิริมาศ ฝ่ายเลขานุการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน
นโยบายของรัฐบาล ๔.๕ นโยบายความมั่นคงของชีวิตและสังคม ๔.๕.๖ “ลดอุบัติภัยและความสูญเสีย จากอุบัติเหตุจราจรให้เหลือน้อยที่สุด ส่งเสริมการเรียนรู้การเดินทางและ การใช้การขนส่งอย่างปลอดภัยโดย น้อมนำหลักการแก้ไขปัญหาจราจรตาม แนวพระราชดำริไปสู่การปฏิบัติอย่าง จริงจังและถือเป็น“วาระแห่งชาติ” ที่ต้องดำเนินการอย่างเข้มข้นในทุก พื้นที่ของประเทศ” นายกรัฐมนตรี แถลงนโยบายรัฐบาล ต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ พ.ย.๒๕๕๔
นโยบาย 4. แผนที่นำทางเชิงกลยุทธ์ (Strategic Map) ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 2554 - 2563 Decade of action for road safety 2010 – 2020 แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน 2552 – 2555 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกัน และ ลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554 4. แผนที่นำทางเชิงกลยุทธ์ (Strategic Map)
ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน 2554 - 2563 Decade of action for road safety 2010 – 2020 สภาพปัญหา กรอบแนวทาง เป้าหมาย
แนวโน้มของการเพิ่มขึ้นของผู้เสียชีวิตเนื่องมาจากอุบัติเหตุหากไม่ทำอะไร Changing Direction: Potential of a Decade of Action for Road Safety แนวโน้มของการเพิ่มขึ้นของผู้เสียชีวิตเนื่องมาจากอุบัติเหตุหากไม่ทำอะไร
Changing Direction: Potential of a Decade of Action for Road Safety เป้าหมายการลดลงของผู้เสียชีวิตขององค์การสหประชาชาติในทศวรรษแห่งการทำงานอย่างจริงจัง
Decade of Action for Road Safety 2554 - 2563 1. ศึกษาข้อแนะนำใน World Report on Traffic Injury Prevention 2004 นำไปสู่การ ปฏิบัติ 2. สนับสนุนแกนนำให้เข้มแข็ง หรือ จัดตั้งองค์กรนำ และพัฒนากลไกระดับชาติ และระดับพื้นที่ (subnational) 3. กำหนดเป้าหมายที่ท้าทายและเป็นไปได้ พร้อมแผนงานและงบประมาณ ที่เน้นความการดำเนินการที่ ยั่งยืน 4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รองรับคนทุกกลุ่มเสี่ยง เช่น คนเดินเท้า 5. พัฒนาระบบขนส่ง การวางผังเมือง และ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนส่ง 6. เชื่อมโยงกฎเกณฑ์ความปลอดภัยของรถและถนน ตามข้อกำหนด UN และใช้คู่มือที่ผลิตโดยความ ร่วมมือของ UN เช่น Speed Management , Drinking and Driving , Helmets, Seatbelt 8. ผลักดันให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางบรรจุประเด็นความปลอดภัยในแผนการทำงาน 8
7. ระบบกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายเข้มแข็ง ระบบการสอบใบขับขี่และขึ้นทะเบียนรถยนต์ตาม มาตรฐานสากล 8. ผลักดันให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางบรรจุประเด็นความปลอดภัยในแผนการทำงาน 9. ผลักดันความร่วมมือ ระหว่างหน่วยบริหารสาธารณะ เครือข่ายของ UN ภาคราชการ เอกชน และ ประชาสังคม 10. ระบบข้อมูลการบาดเจ็บให้เปรียบเทียบข้อมูลระดับนานาชาติได้ และ ให้ใช้คำจำกัดความสากลของ การเสียชีวิตว่า หมายถึงผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรภายใน 30 วันหลังจากเกิดอุบัติเหตุ 11. เสริมความเข้มแข็งระบบการแพทย์ ทั้ง ระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล (ให้รวดเร็วทั่วถึง) การรักษาในโรงพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพผู้บาดเจ็บ ผ่านระบบกฎหมายและการอบรม 9
8 ประเด็นสำคัญ .. ที่ ศปถ. นำมาขับเคลื่อน “ทศวรรษความปลอดภัยทางถนน” การสวมหมวกนิรภัย 100 % การจัดการความเร็ว เมาแล้วขับ สมรรถนะผู้ใช้รถ ใช้ถนน (เช่น การออกใบอนุญาต ขับรถที่มีคุณภาพ) ยานพาหนะที่ได้มาตรฐานความปลอดภัย การจัดการจุดเสี่ยง การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บ พัฒนาระบบบริหารจัดการ (กลไกนโยบาย ตัวชี้วัดข้อมูล ติดตาม-ประเมินผล วิจัย , พัฒนา บุคลากร)
แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน 2552 – 2555 วัฒนธรรมความปลอดภัย vs ระบบความปลอดภัย ค่าเป้าหมายตัวชี้วัด การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
The dynamics of accident causation ความผิดพลาด ความไม่สมบูรณ์ ตายทันทีในที่เกิดเหตุ คน ถนน The dynamics of accident causation รถ ระบบช่วยเหลือหลัง อุบัติเหตุ การบริหารจัดการ ผู้ประสบเหตุได้รับช่วยเหลือ ทันเวลาและมีคุณภาพ
“ทุกชีวิตปลอดภัยตามมาตรฐานสากล” วิสัยทัศน์ บนถนน “ทุกชีวิตปลอดภัยตามมาตรฐานสากล” เป้าหมาย ลดอัตราการเสียชีวิตของการเกิดอุบัติเหตุทางถนนตามมาตรฐานสากลให้เหลือปีละ 14.15 คน/แสนประชากร ในปี 2555
ปี พ.ศ. อัตราต่อแสนประชากร ๒๕๕๒ ๑๗.๑๘ ๒๕๕๓ ๑๖.๑๗ ๒๕๕๔ ๑๕.๑๖ ๒๕๕๕ ๑๔.๑๕ เป้าหมายเชิงนโยบาย ปี พ.ศ. อัตราต่อแสนประชากร ๒๕๕๒ ๑๗.๑๘ ๒๕๕๓ ๑๖.๑๗ ๒๕๕๔ ๑๕.๑๖ ๒๕๕๕ ๑๔.๑๕
บทบาทของส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการป้องกัน และ ลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. 2554 โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ บทบาทของส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน พ.ศ. ๒๕๕๔
ความเป็นมา - คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๓ มีมติเห็นชอบหลักการร่างระเบียบตามที่ ศปถ.เสนอ - ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๔ โดยมีผลใช้บังคับวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๕๔ เป็นต้นไป
โครงสร้างองค์กรในระเบียบ ฯ แบ่งออกเป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับนโยบาย คือ คณะกรรมการนโยบายป้องกัน และลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ ระดับอำนวยการ ได้แก่ - ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน - ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัด - ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนกรุงเทพมหานคร ๓. ระดับปฏิบัติการ ได้แก่ - ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนอำเภอ - ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนเขต
ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน(ศปถ.) โครงสร้าง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการศูนย์ฯ คณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ ป.มท./ ป.คค. /ป.สธ. /ป.ศธ. / ผบ.ตร. รองประธานกรรมการ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่เกี่ยวข้องและผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรรมการและเลขานุการ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการ ศปถ. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย
ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัด (ศปถ.จังหวัด) ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัด (ศปถ.จังหวัด) ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการศูนย์ฯ คณะกรรมการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานกรรมการ ผบ.ภ.จว./ ปจ. /นายก อบจ รองประธานกรรมการ ผู้แทนหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ กรรมการ อปท. ในเขตจังหวัด ภาคเอกชน และผู้ทรงคุณวุฒิ หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด กรรมการและเลขานุการ สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการ ศปถ.จังหวัด สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
ระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนน ระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ๑. ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัย ทางถนนอำเภอ ๒. ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัย ทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนที่นำทางเชิงกลยุทธ์ (Strategic Map) กรอบ 5 เสาหลัก การจัดการ ถนนและการสัญจรที่ปลอดภัย ยานพาหนะ ผู้ใช้รถใช้ถนน การตอบสนองหลังเกิดอุบัติเหตุ
การจัดเก็บข้อมูลรายปีที่เป็นไปตามนิยามสากล การพัฒนาระบบข้อมูล (Data Management) การจัดเก็บข้อมูลรายปีที่เป็นไปตามนิยามสากล คณะอนุกรรมการจัดการข้อมูล และประเมินผล ศูนย์ข้อมูลระดับจังหวัด
7. ระบบกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายเข้มแข็ง ระบบการสอบใบขับขี่และขึ้นทะเบียนรถยนต์ตาม มาตรฐานสากล 8. ผลักดันให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางบรรจุประเด็นความปลอดภัยในแผนการทำงาน 9. ผลักดันความร่วมมือ ระหว่างหน่วยบริหารสาธารณะ เครือข่ายของ UN ภาคราชการ เอกชน และ ประชาสังคม 10. ระบบข้อมูลการบาดเจ็บให้เปรียบเทียบข้อมูลระดับนานาชาติได้ และ ให้ใช้ คำจำกัดความสากลของการเสียชีวิตว่า หมายถึงผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรภายใน 30 วันหลังจากเกิดอุบัติเหตุ 11. เสริมความเข้มแข็งระบบการแพทย์ ทั้ง ระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล (ให้รวดเร็วทั่วถึง) การรักษาในโรงพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพผู้บาดเจ็บ ผ่านระบบกฎหมายและการอบรม 25
ร่วมกันสร้างระบบและวัฒนธรรมความปลอดภัย เพื่อรอยยิ้มคนไทยที่ยั่งยืน