คลินิกหมอครอบครัว หลักการ แนวคิดนโยบาย นายแพทย์บุญชัย ธีระกาญจน์ วท.บ. , พ.บ. , ส.ม. , อ.ว.เวชศาสตร์ป้องกัน , อ.ว.เวชศาสตร์ครอบครัว สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ ๓
ระบบบริการสาธารณสุขที่คาดหวัง ระบบบริการสาธารณสุขที่เป็นอยู่ 3° Care 2° Care 1° Care เกินจำเป็น จ่ายแพง Vicious circle ฟ้องร้อง ขับเคลื่อนด้วย โรงพยาบาลใหญ่ Specilist ความเหลื่อมล้ำ ดูแลรายโรค เฉพาะอวัยวะ ขาดความมั่นคงในระบบ ขับเคลื่อนด้วย คลินิกหมอครอบครัว Family Medicine Team ลดความเหลื่อมล้ำ ดูแลแบบองค์รวม เพิ่มความมั่นคงในระบบ 3° Care 2° Care 1° Care นพ.โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระบบบริการสาธารณสุขที่คาดหวัง ระบบบริการสาธารณสุขที่เป็นอยู่
Accountibility & Efficiency Heath Service District Health Board Financial Governance Excellence Care Tertiary Care Secondary Care Primary Care ระบบ การ แพทย์ฉุกเฉิน Referral Systems Accountibility & Efficiency Person Centeredness Quality Hospital Based Com. & Home Based Holistic / Comprehensive / Integrated / Continuity Community / Social – DHS คืนข้อมูล ระบบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ผ่านประชามติ 7 สิงหาคม 2559 หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้ (ช) ด้านอื่นๆ (5) ให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ดูแลประชาชนในสัดส่วนที่เหมาะสม
ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน จะต้องเป็นองค์กรที่เป็นเลิศ 4 ด้าน เป็นเลิศด้านบริการดี 1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ PCC 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. ศูนย์เป็นเลิศทางการแพทย์ 4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขตเศรษฐกิจพิเศษ เป็นเลิศด้านสุขภาพดี 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยง ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นเลิศด้านบริหารดี 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ 3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และ การคุ้มครองผู้บริโภค 4. ระบบธรรมาภิบาล เป็นเลิศด้านคนดี 1. การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง 2. การผลิตพัฒนากำลังคน 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหาร จัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 4. การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและ ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ
สถานีอนามัย – Primary Health Care สุขศาลา – Sanitary Care PCC – Family Medicine Structure Function รพสต. – Home Health Care สถานีอนามัย – Primary Health Care สุขศาลา – Sanitary Care การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ
Primary Care Cluster คลินิกหมอครอบครัว การปรับรูปแบบ ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ ให้ประชาชนสามารถ ดูแลสุขภาพตนเอง โดยมี ทีมหมอครอบครัว ซึ่งมี แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว เป็นหัวหน้าทีม เป็น ที่ปรึกษา และ ร่วมดูแล ประชาชน ด้วยหลัก เวชศาสตร์ครอบครัว เป็นการ ประจำ
สุขภาวะ บริการทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี บริการทุกคน ให้บริการทุกกลุ่มวัย ทุกสิทธิ ทั้งกลุ่มดี เสี่ยง ป่วย บริการทุกอย่าง Holistic, Comprehensive, Integrated Care ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู คุ้มครอง ต่อเนื่อง ระบบส่งต่อ ไป-กลับ ดูแลคน ไม่ใช่ดูแลโรค รักษาคน ไม่ใช่รักษาโรค บริการทุกที่ ให้บริการทั้งเชิงรับในหน่วยบริการ และการให้บริการเชิงรุกในชุมชน บริการทุกเวลา ด้วยเทคโนโลยี เวลาราชการ เวลาราษฎร ใช้เทคโนโลยี เช่น Line group สุขภาวะ นพ.โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายดำเนินการ ระยะที่ 1 มิถุนายน 2559 16 จังหวัดใน 12 เขต 48 ทีม เชียงใหม่ น่าน / พิษณุโลก เพชรบูรณ์ / กำแพงเพชร / อยุธยา สระบุรี / สุพรรณบุรี / ชลบุรี / ขอนแก่น / อุดรธานี / นครราชสีมา บุรีรัมย์ / อุบลราชธานี / สุราษฎร์ธานี / ตรัง ระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 76 จังหวัด 424 ทีม + กทม. รพศ./รพท. แห่งละ 1 PCC รพช./รพสต. จังหวัดละ 1 ทีม กทม. 3 เขต เขตละ 1 PCC รวม 596 ทีม ระยะที่ 3 ปีงบประมาณ 2564 3250 ทีม ระยะที่ 4 ปีงบประมาณ 2569 6500 ทีม
ทำมาก ได้น้อย ทำน้อย ได้มาก การปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ Value–Based Economy เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ทำมาก ได้น้อย ทำน้อย ได้มาก
เปลี่ยน ปัญหาและความท้าทาย ให้เป็น ศักยภาพและโอกาส ทำน้อย ได้มาก นพ.โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข สร้างความมั่นคงทางสุขภาพ นำไปสู่ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ให้กับประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
Primary Care Cluster คลินิกหมอครอบครัว ลดเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรม ส่งแพทย์ลงให้บริการประชาชนในระดับตำบล 1 ทีมดูแลประชาชน 10,000 คน ประชาชนได้รับบริการปฐมภูมิ ที่มีชุดสิทธิประโยชน์เดียวกัน ตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว นพ.โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ทีม หมอครอบครัว งานสบาย ชาวบ้านสะดวก ลดความซ้ำซ้อน ลดเวลา Gatekeeper 1. ทำอย่างไรให้ประชาชนที่เราดูแล 10,000 คน ไม่ป่วย ทั้ง Catchment Area / Population 2. หากป่วยเล็กน้อย ประชาชนจะดูแลตนเองอย่างไร หากจำเป็นทีมหมอครอบครัวจะดูแลรักษาอย่างไร 3. หากเจ็บป่วยมาก จะส่งต่ออย่างไร และจะรับกลับมาดูแลต่ออย่างไร ทีมต้องวางแผนการดูแลใหม่ ร่วมกับชาวบ้าน ให้ งานสบาย ชาวบ้านสะดวก ลดความซ้ำซ้อน ลดเวลา
ความมั่นใจของประชาชน อยู่ที่ 1. ตัวบุคลากร 2. เครื่องไม้เครื่องมือ 3. ระบบส่งต่อ พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รองนายกรัฐมนตรี โรงพยาบาลตรัง
แนวคิดการทำงาน PCC Input Process Outcome Outcome Input Process งาน PP เดิม Service plan Clinics / Projects / Events etc Process รูปแบบเดิมๆ Outcome เหมือนเดิม รายงาน Outcome สุขภาวะของประชาชน Health Literacy etc Input งาน PP เดิม Service plan Clinics / Projects / Campaigns etc Process รูปแบบการทำงานของ PCC ตามบริบทของพื้นที่ (DHS-DHB)
มุมมองที่เปลี่ยนไป ครอบครัว กลุ่มวัย กลุ่มโรค ครอบครัว กลุ่มป่วย
มุมมองที่เปลี่ยนไป ครอบครัว กลุ่มวัย กลุ่มโรค ครอบครัว กลุ่มป่วย
ขั้นตอนการจัดตั้ง PCC 1. กำหนดจุดที่เป็นที่ตั้ง PCC Mapping ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ของจังหวัด ครอบคลุม 30,000 คนในเขตเมือง 10,000-30,000 คนในเขตชนบท 2. พัฒนาคุณภาพ รพ.สต. เช่น เป็นรพ.สต.ติดดาว 3. เพิ่มบริการจากรพ.มาเสริม เช่น จัดแพทย์ร่วมบริการเป็น Extended OPD 4. เป็น PCC เต็มรูปแบบ มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและทีมสหสาขาวิชาชีพ ร่วมดูแลประชาชน นพ.โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เน้นการจัดการที่ Staff และ Service มากกว่า Structure ดังนี้
Major criteria Minor criteria Staff ประชากร 8000-12,000 ต่อ ทีม - แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว หรือ ผ่านการอบรมระยะสั้นราชวิทยาลัย 1 คน : ทีม - พยาบาลวิชาชีพ/พยาบาลเวชปฏิบัติ 1 : 2,500 (4 คน) อย่างน้อย 50 % - นักวิชาการ/เจ้าพนักงานสาธารณสุข - ต้องมีแผนการสรรหาที่ชัดเจนให้ได้ ครบถ้วนใน 2 ปี รับผิดชอบเต็มเวลา - ทันตแพทย์ 1 : 30,000 - เภสัชกร 1 : 30,000 - ทันตาภิบาล 1 : 10,000 - เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 1 : 10,000 - แพทย์แผนไทย 1 : 10,000 - กายภาพบำบัด 1 : 30,000 - สหวิชาชีพอื่น ต้องมีแผนการสรรหา ให้ได้ครบถ้วนภายใน 2 ปี System จัดระบบให้สามารถ บริการทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี
Major criteria Minor criteria System (Cont.) ระบบบริการ Service Package รายกลุ่มวัย / Line group / Continuity care เช่น การเยี่ยมบ้าน / LTC etc ระบบส่งต่อ Green Channel / Refer Back ระบบบัญชี Virtual Account ระบบข้อมูล โปรแกรมระบบบริการเชื่อมกับแม่ข่าย ระบบรายงานประจำเดือน/ไตรมาส ระบบบริหารจัดการ มีผู้จัดการทีม / ผู้จัดการ Cluster ผู้จัดการระดับอำเภอ / ระดับจังหวัด การจัดระบบบริการร่วมกับชุมชน Ambulance / Lab Investigation Planfin แผนเงินบำรุง การทำงานผ่าน Tablet , Smart phone Structure อาคาร ที่เข้าถึงบริการได้ง่ายและครอบคลุม (ใช้ปรับปรุงจากสถานที่เดิมเป็นหลัก) ครุภัณฑ์ ตามความจำเป็น เช่น EKG / Ultrasound / Dental Unit / AED etc
มิติการให้บริการ OP visit PCC visit ผู้ให้บริการ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/บุคลากรสาธารณสุข แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและทีมสหสาขา เวลา เวลาทำการ เวลาทำการและ บริการให้คำปรึกษาได้ 24 ชม โดยทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว สถานที่ โรงพยาบาล คลินิกหมอครอบครัว ชุมชน บ้าน รูปแบบ รักษา ดูแลเฉพาะโรค เหมาะกับรักษาแบบ Acute ดูแลถึงความจำเป็นด้านสุขภาพของผู้ป่วย Bio psycho social รักษาทั้งครอบครัว และสร้างการช่วยเหลือทางสังคม มีการรักษาทั้ง acute , Chronic โดยตามไปรักษาถึงบ้าน เน้นปรับพฤติกรรม ใช้ยาลดลง ยา รับยาแล้วกลับบ้าน เพิ่มการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ ตามไปดูการใช้ยาถึงบ้าน ปรับการเก็บและสำรองยาที่บ้านอย่างมีประสิทธิภาพ
มิติการให้บริการ OP visit PCC visit ชุมชน ไม่มี สร้างชุมชนเข้มแข็ง มี กลไกการดูแลสุขภาพทุกด้านระดับชุมชน ให้องค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ลดยาอันตราย การส่งต่อ ส่งต่อเฉพาะข้อมูลการเจ็บป่วย มีข้อมูลการดูแลตนเอง และปัญหาสุขภาพต่างๆ เชื่อมข้อมูลถึงคนในครอบครัว ติดตามดูแลถึงบ้าน ให้ดูแลตนเองได้ ลด re-admission ดูแลต่อเนื่อง และฟื้นฟู home visit บุคลากรสาธารณสุขและเป็นเชิงสังคม home ward และ ฟื้นฟูโดย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว (professional)และทีม ลดการ admission การติดเชื้อในรพ และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ส่งเสริมป้องกัน บริการกลุ่มวัย เพิ่มและวางแผนการให้บริการกลุ่มวัยโดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นหัวหน้าทีม
ภายหลังการเกิด Stroke ระบบบริการปฐมภูมิ Pcc ประชาชน ได้อะไร? ได้อะไร? เพิ่มการเข้าถึงบริการ ที่หน่วย ปฐมภูมิ และสามารถลดค่าใช้จ่ายของประชาชน จากการเดินทางไป Pcc ได้ 1,655.37 บาท/คน (ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ผู้ป่วยและญาติขาดรายได้ และค่ารักษา/ค่ายา) ลดการเจ็บป่วยของผู้ป่วย โรคเรื้อรังที่ต้องรักษา เป็นผู้ป่วยใน ลดจำนวนวันนอน ได้ 41-57 % ลดผู้ป่วยติดเตียง ภายหลังการเกิด Stroke ลดค่าใช้จ่ายได้ 4-30% ลดการสั่งจ่ายยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (URI) และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (AD) ได้ 15 - 30% ระบบบริการปฐมภูมิ Pcc ที่มีประสิทธิภาพ ที่มาของข้อมูล: 1. ข้อมูลจากการรวบรวมของคณะทำงานพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการดูแลสุขภาพ ในคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและปฏิรูปสาธารณสุข ด้านการคลังสุขภาพและระบบหลักประกันสุขภาพ 2. การศึกษา เรื่อง การเปลี่ยนใจมารับบริการและค่าใช้จ่ายของประชาชนจากนโยบายการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โดย สนย. กระทรวงสาธารณสุข
ประชาชน ได้อะไร? ลดแออัด ลดรอคอย เพิ่มคุณภาพการรักษา
เพิ่มคนรอดชีวิตมากขึ้น ประชาชน ได้อะไร? ลดการใช้ห้องฉุกเฉิน เพิ่มคนรอดชีวิตมากขึ้น
ประชาชน ได้อะไร? ลดการนอนโรงพยาบาล เพิ่มคนสุขภาพดี
ลดการเสียชีวิตทารกแรกเกิด ประชาชน ได้อะไร? ลดการเสียชีวิตทารกแรกเกิด เพิ่มผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ
ลดค่าใช้จ่ายของประชาชน ได้อะไร? ลดค่าใช้จ่ายของประชาชน เพิ่มเงินในกระเป๋าประชาชน
ลดค่าใช้จ่ายของประเทศ ประชาชน ได้อะไร? ลดค่าใช้จ่ายของประเทศ เพิ่มสุขภาพ 65 ล้านคน
resource IT/การเงิน/equipment ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน Primary Care Cluster health workforce Governance resource IT/การเงิน/equipment service
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ Primary Care Cluster เขตสุขภาพ
Q & A