MK. 325 การจัดซื้อ ( Purchasing ) อาจารย์ผู้สอน ศศิประภา ชัยประสิทธิ์ ภาควิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ E-mail sasiprapa_c@hotmail.com ตำราเรียน เอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารวัสดุและ การจัดซื้อ หน่วยที่ 7-15 สาขาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การประเมินผล สอบกลางภาค ( Mid term ) 30 % สอบปลายภาค ( Final ) 50 % รายงาน 10 % Presentation 5 % Class Activities 5 % รวม 100 %
การสั่งซื้อสินค้า/วัตถุดิบ ภาพรวมของระบบธุรกิจ องค์กร แผนกผลิต แผนกตลาด แผนกจัดซื้อ แผนกการเงิน แผนกบัญชี แผนกบุคคล การสั่งซื้อสินค้า/วัตถุดิบ การจัดจำหน่าย Suppliers ผู้บริโภค
หลักการเบื้องต้นในการจัดซื้อ การซื้อให้ได้คุณภาพที่ถูกต้อง การซื้อให้ได้จำนวนที่ถูกต้อง การซื้อจากผู้ขายที่ถูกต้อง การซื้อให้ได้ราคาที่ถูกต้อง การซื้อในจังหวะเวลาที่ถูกต้อง
การซื้อให้ได้คุณภาพที่ถูกต้อง ตามทัศนะของประชาชนทั่วไป : แสดงออกมาในรูปแบบผสม ตามทัศนะของผู้ผลิต : คุณภาพมักมีเกณฑ์ที่กำหนดเอาไว้ ตามทัศนะของผู้ซื้อ : ใช้หลักความเหมาะสม คุณภาพที่ถูกต้อง คือ คุณภาพที่ดีที่สุดสำหรับงานที่ตั้งใจจะนำไปใช้ ( Right Quality means the best quality for a purpose or an intended use )
การซื้อให้ได้จำนวนที่ถูกต้อง ราคาและต้นทุนการผลิตจะเปลี่ยนแปลงตามจำนวนที่ซื้ออย่างไร จำนวนที่ซื้อมีผลต่อระดับพัสดุคงคลังเพียงใด จำนวนครั้งที่ต้องออกใบสั่งซื้อที่ส่งผลต่อค่าใช้จ่ายในการซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเจรจาตกลงซื้อมีมากน้อยเพียงใด ดังนั้น ควรมีการคำนวณหา “จำนวนการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด” หรือ EOQ
การซื้อจากผู้ขายที่ถูกต้อง พิจารณาจาก สุจริต ยุติธรรม มีฐานะการเงินมั่นคง มีการกำหนดราคาพอสมควร มีความคิดก้าวหน้าในการปรับปรุงสินค้า และวิธีผลิตอยู่เสมอ สามารถจัดเตรียมและนำส่งวัสดุได้ถูกต้อง ครบถ้วนและทันเวลา
การซื้อในราคาที่ถูกต้อง เกณฑ์การพิจารณาราคายุติธรรม ( Fair Price ) ราคาอันเกิดจากความสัมพันธ์ของราคากับต้นทุน ราคาอันเกิดจากอุปสงค์และอุปทาน ราคาอันเกิดจากการแข่งขัน
การซื้อในจังหวะเวลาที่ถูกต้อง ซื้อเมื่อพัสดุหมด ซื้อล่วงหน้า การซื้อเมื่อคาดว่าราคาจะสูงขึ้น