บทที่ 3 ระบบสุริยะ ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3.1 กำเนินดวงอาทิตย์และบริวาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดบนดวงอาทิตย์ ( Sunspots )
Advertisements

Solar Storm พายุสุริยะ
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
(Structure of the Earth)
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
คลื่นน้ำขึ้นน้ำลง - เกิดจากอิทธิพลของแรงดึงดูดของ
Sticker House .บ่งบอกตำแหน่ง House ของ Shelf และแต่ละ Zone จะมีจำนวน House ไม่เท่ากัน .แต่ละ Zone ขนาด Sticker จะไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับความหนาของแผ่นพื้น.
ดาวพลูโต (Pluto).
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
อะตอม คือ?.
โรงเรียนธนรัตน์วิทยา
ความร้อนและอุณหภูมิ (Heat and Temperature)
สมดุล Equilibrium นิค วูจิซิค (Nick Vujicic).
หลักการวัดและการตรวจสอบเครื่องมือวัดอุณหภูมิโดยใช้ ice point
ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า Unit 1.
1. น้ำหนักดินเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
Tides.
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกในอดีต
ระบบสุริยะ (Solar System)
ดาวบาร์นาร์ด.
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
Air-Sea Interaction 2.
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
โครงสร้างโลก.
กำเนิดระบบสุริยะ เกิดจากกลุ่มก๊าซและฝุ่น ที่เรียกว่า โซลาร์เนบิวลา (Solar Nebula) เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีที่ผ่านมา กลุ่มฝุ่นก๊าซยุบตัวหมุนเป็นรูปจานที่ใจกลางของกลุ่มก๊าซ.
By Poonyaporn Siripanichpong
ณ ห้องประชุมกฤษณะ ผลอนันต์ อาคาร ๓ ชั้น ๒ สำนักงาน ป.ป.ส.
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
การดำเนินงานของคลัสเตอร์พลังงานResearch University Network – Energy
หลักการใหม่ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
หมวดวิชาที่ 2 กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน
Tides.
วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2558 เวลา น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
การพยากรณ์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
จุดบนดวงอาทิตย์.
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
บทน ำและกำรวัด # 2 by P’Tum.
บทที่ 5 ระบบเลขฐานและรหัสแทนข้อมูล
เจาะลึก google หลักการทำงานของ search engine
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
ผู้จัดทำวิจัย อิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
ระบบสุริยะ (Solar System)
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
1.ศุภิสรายืนอยู่บนพื้นสนามราบ เขาเสริฟลูกวอลเล่บอลขึ้นไปในอากาศ ลูกวอลเล่ย์ลอยอยู่ในอากาศนาน 4 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกวอลเล่ย์ไปได้ไกลในระดับ.
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การประเมินราคา (Cost estimation).
การเปลี่ยนแปลงธรณีภาค
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
กลศาสตร์และการเคลื่อนที่ (1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ระบบสุริยะ ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3.1 กำเนินดวงอาทิตย์และบริวาร 3.2 องค์ประกอบของระบบสุริยะ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้น อภิปราย และอธิบายกำเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ 2. บรรยายองค์ประกอบและขอบเขตของระบบสุริยะ 3. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ p1

บทที่ 3 ระบบสุริยะ คำถามก่อนเรียน 1. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์รุ่นหลัง 2. ดวงอาทิตย์เกิดขึ้นได้อย่างไร และจะมีวิวัฒนาการอย่างไร 3. เพราะเหตุใดโลก ดาวศุกร์ ดาวอังคาร และดาวพุธ จึงถูกจัดเป็นดาวเคราะห์หิน และเกิดได้อย่างไร 4. เพราะเหตุใดดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน จึงถูกจัดเป็น ดาวเคราะห์ยักษ์ เละเกิดได้อย่างไร 5. ดาวเคราะห์น้อยและดาวหาง อยู่บริเวณใดของระบบสุริยะ และเกิดได้อย่างไร 6. การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ คืออะไร มีผลกระทบต่อโลกหรือไม่ อย่างไร 7. จงเขียนแผนผังแสดงวิวัฒนาการของระบบสุริยะ p2

p3

ทฤษฎีจุดกำเนินระบบสุริยะของแม็คเครียร์ ทฤษฎีจุดกำเนินระบบสุริยะของแม็คเครียร์   ในช่วง พ.ศ.2500 – 2503 William McCrea 3.1 กำเนินดวงอาทิตย์และบริวาร 2 ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มฝุ่นและแก๊สในอวกาศซึ่งเรียกว่า “โซลาร์เนบิวลา” (Solar Nebula) ดังภาพ 1 1 3 รวมตัวกันเมื่อ ประมาณ 4,600 ล้าน ปีมาแล้ว คำนวณจากอัตราการฟิวชัน H เป็น Heภายในดวงอาทิตย์ เมื่อสสารมากขึ้นแรงโน้มถ่วงระหว่างมวลสารมากขึ้นตามไปด้วย กลุ่มฝุ่นและแก๊สยุบตัวหมุนเป็นรูปจานตามหลักอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม (หมุน) ดังภาพที่ 2 แรงโน้มถ่วงที่เพิ่มขึ้นสร้างแรงกดดันที่ใจกลางจนอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวมอะตอมของไฮโดรเจนให้เป็นฮีเลียม ดวงอาทิตย์กำเนิดเป็นดาวฤกษ์  วัสดุรอบๆ ดวงอาทิตย์ (Planetisimal) ยังคงหมุนวนและโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยโมเมนตัมที่มีอยู่เดิม  มวลสารในวงโคจรแต่ละชั้นรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์  อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงทำให้วัสดุที่อยู่รอบๆ พุ่งเข้าหาดาวเคราะห์จากทุกทิศทาง  ถ้าทิศทางของการเคลื่อนที่มีมุมลึกก็จะพุ่งชนดาวเคราะห์ ทำให้ดาวเคราะห์นั้นมีขนาดใหญ่และมีมวลเพิ่มขึ้น แต่ถ้ามุมของการพุ่งชนตื้นเกินไปก็อาจจะทำให้แฉลบเข้าสู่วงโคจร และเกิดการรวมตัวกลายเป็นดวงจันทร์บริวาร ภาพ 3 p4

จาก VDO เรื่องไขกำเนิดระบบสุริยะจงตอบคำถามต่อไปนี้ 1) ปัจจุบัน ระบบสุริยะมีอายุกี่ปี................... 2) วัตถุต้นกำเนินระบบสุริยะคืออะไร.................... 3) การรวมตัวกันของ อนุภาคเริ่มต้นระบบสุริยะมาจากปัจจัยใด.............. 4) ในช่วง 700 ล้านปีแรกของการกำเนินระบบสุริยะเกิดอะไรขึ้นบ้าง ที่ 0 ปี................. ช่วง 5 หมื่นปี......................... ช่วง 1 แสนปี.......................... ช่วง 1 ล้านปี........................ ช่วง 2 ล้านปี........................ ช่วง 3 ล้านปี........................ ช่วง 10 ล้านปี....................... ช่วง 40 ล้านปี....................... ช่วง 50 ล้านปี...................... ช่วง 80 ล้านปี....................... ช่วง 500 ล้านปี..................... ช่วง 700 ล้านปี..................... 5) สสารในระบบสุริยะ อยู่ในดวงอาทิตย์คิดเป็นร้อยละเท่าไร 6) สสารที่เหลืออยู่จากดวงอาทิตย์อยู่ในดาวอะไรมากที่สุดและมีอยู่ร้อยละเท่าไร 7) การเกิดดาวเคราะห์หินและดาวเคราะห์แก๊ส เกิดจากปัจจัยอะไรบ้าง การเกิดระบบใดเสร็จสิ้นก่อน 8) ดาวเคราะห์เริ่มแรกมีชื่อว่าอะไร 9) องค์ประกอบหลักในส่วน Rock Line คืออะไร 10) องค์ประกอบหลักในส่วน Snow Line คืออะไร 11) ทำไมดาวเคราะห์ชั้นในจึงมีขนาดเล็กกว่าดาวเคราะห์ชั้นนอก 12) นักดาราศาสตร์ใช้กล้อง ซูบารุ ในฮาวาย ค้นพบหลักฐานอะไร 13) โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร 14) ดาวพฤหัสบดี มีอิทธิพลต่อแถบดาวเคราะห์น้อยอย่างไร 15) ปรากฏการณ์ sling short เป็นอย่างไร 16) ผลจากปรากฏการณ์ Resonance เกิดอะไรขึ้นบ้าง

ท่องจักรวาล ไขกำเนิดระบบสุริยะ https://www.youtube.com/watch?t=81&v=2MkJ9_aedVA p5

ดาวที่มีมวลตั้งต้นน้อยกว่า 2 เท่าของดวงอาทิตย์ พ้นลำดับหลักกลายเป็นดาวยักษ์แดง แล้วจบชีวิตเป็นเนบิวลาดาวเคราะห์และดาวแคระขาวคาร์บอน p6

3.1 องค์ประกอบของระบบสุริยะ เวลา 1 ชั่วโมง กิจกรรมย่อส่วน ระบบสุริยะ คริสต์ศตวรรษที่ 16 (พุทธศตวรรษที่ 21) เมื่อโคเปอร์นิคัสและกาลิเลโอค้นพบ หลักฐานที่ยืนยันว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ มีโลกและดาวเคราะห์บริวารโคจรล้อมรอบ ดาวเคราะห์ในยุคนั้นจึงเหลือเพียง 6 ดวง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ เนื่องจากดวงอาทิตย์ถูกยกฐานะเป็นดาวฤกษ์ และดวงจันทร์ถูกลดสถานะเป็นบริวารของโลก    ค.ศ.1781 (พ.ศ.2324)  วิลเลียม เฮอร์สเชล นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษได้ส่องกล้องโทรทรรศน์ค้นพบดาวเคราะห์ดวงที่ 7 คือ ดาวยูเรนัส และพบดาวเนปจูนพบเมื่อ พ.ศ.2389 p7

1 2 3 8 cm AU AU AU 20 cm

สมาพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้ปรับนิยามใหม่ของดาวเคราะห์ สมาพันธ์ดาราศาสตร์สากลได้ปรับนิยามใหม่ของดาวเคราะห์  International Astronomical Union 1. ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึง เทห์วัตถุที่มีสมบัติดังต่อไปนี้ครบถ้วน                 (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์                 (ข) มีมวลมากพอที่จะทำให้แรงโน้มถ่วงของดาวสามารถเอาชนะความแข็งของเนื้อดาว ส่งผลให้ดาวอยู่ในสภาวะสมดุลไฮโดรสแตติก (hydrostatic equilibrium; เช่น ทรงเกือบกลม)                 (ค) สามารถกวาดเทห์วัตถุในบริเวณข้างเคียงไปได้ ในวันที่ 24 สิงหาคม 2549 สมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) ได้ประกาศลดสถานะดาวพลูโต ให้เป็นดาวเคราะห์แคระทั้งนี้เนื่องจาก ดาวพลูโตก็เป็นเพียงวัตถุวัตถุหนึ่งในระบบสุริยะ ไม่ต่างจากดาวเคราะห์น้อยที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งค้นพบแล้วกว่า 338,100 ดวง (ข้อมูล ณ วันที่ 9 สิงหาคม 2549) และยังมีการค้นพบเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องกว่า 4,000 ดวงต่อ 2. ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planet) หมายถึง เทห์วัตถุที่มีสมบัติดังต่อไปนี้ครบถ้วน                 (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์                 (ข) มีมวลมากพอที่จะแรงโน้มถ่วงของดาวสามารถเอาชนะความแข็งของเนื้อดาว ส่งผลให้ดาวอยู่ในสภาวะไฮโดรสแตติก (hydrostatic equilibrium; เช่น ทรงเกือบกลม)                 (ค) ไม่สามารถกวาดเทห์วัตถุในบริเวณข้างเคียงไปได้ (ง) ไม่ใช่ดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์อื่นๆ 3. เทห์วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ (Small Solar-System Bodies) หมายถึง วัตถุอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวไปแล้ว  p8

 จึงสรุปได้ว่า ในปัจจุบันระบบสุริยะมีดาวเคราะห์ 8 ดวง คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และมีดาวเคราะห์แคระอีกหลายดวงที่รู้จักกันดี เช่น ดาวพลูโตเคยถูกจัดเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ดาวซีรีส์เคยถูกจัดว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ใหญ่ที่สุด ดาวเอริสซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าดาวพลูโต   p9

 ดวงอาทิตย์ (The Sun) เป็นดาวฤกษ์ซึ่งมีมวลร้อยละ 99 ของระบบสุริยะ จึงทำให้อวกาศโค้งเกิดเป็นศูนย์กลางของแรงโน้มถ่วง โดยมีดาวเคราะห์และบริวารทั้งหลายโคจรล้อมรอบ ดวงอาทิตย์มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจนซึ่งเป็นอยู่ในสถานะพลาสมา (แก๊สที่มีอุณหภูมิสูงมากจนประจุหลุดออกมา)  ดาวเคราะห์ช้ันใน (Inner Planets) หรือ ดาวเคราะห์แข็ง (Terrestrial planets) หมายถึง ดาวเคราะห์ที่มีพื้นผิวเป็นของแข็ง ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดเล็กและมีมวลน้อย เนื่องจากบรรยากาศที่ห่อหุ้มดาวถูกทำลายโดยรังสีคลื่นสั้นและอนุภาคพลังงานสูงที่มากับลมสุริยะ จึงเหลือแต่พื้นผิวที่เป็นของแข็ง  ดาวเคราะห์ชั้นนอก (Outer Planets) หรือ ดาวเคราะห์แก๊ส (Giant Gas Planets) หมายถึง ดาวเคราะห์ที่มีบรรยากาศหนาแน่น ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน เป็นดาวเคราะห์ทีี่มีขนาดใหญ่และมีมวลมาก เนื่องจากอยู่ห่างไกลจากอิทธิพลของรังสีและลมสุริยะ บรรยากาศจึงสามารถคงอยู่ได้อย่างหนาแน่น  ดาวเคราะห์ชั้นนอกมีมวลมากจึงมีแรงโน้มถ่วงสูง ทำให้ดึงดูดสสารทั้งหลายมาสะสมไว้ภายใน และเป็นดวงจันทร์บริวาร  สนามแรงโน้มถ่วงความเข้มสูงทำให้เกิดแรงไทดัลบนวัตถุที่เข้ามาใกล้่ แล้วแตกสลายกลายเป็นวงแหวน p10

ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) คือวัตถุที่ไม่สามารถรวมตัวกันเป็นดาวเคราะห์ได้ เนื่องจากถูกรบกวนจากแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ เช่น ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร์ ทำให้แรงไทดัลที่เกิดขึ้นมีกำลังมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสสารภายในดาว   ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่มีองค์ประกอบหลักเป็นหิน แต่บางดวงมีโลหะปนอยู่ ดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่อยู่ที่ "แถบดาวเคราะห์น้อย" (Asteroid belt) ซึ่งอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี  ดาวเคราะห์น้อยมีรูปทรงเหมือนอุกกาบาต เนื่องจากมวลน้อยจึงมีแรงโน้มถ่วงน้อยไม่สามารถยุบรวมเนื้อดาวให้มีรูปร่างทรงกลม วัตถุในแถบคอยเปอร์ (Kuiper Belt Objects) มีองค์ประกอบหลักเป็นหินปนน้ำแข็ง มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป  วงโคจรของวััตถุในแถบคอยเปอร์เอียงทำมุมกับระนาบสุริยวิถีเล็กน้อย  โดยมีระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 40 – 500 AU (AU ย่อมาจาก Astronomical Unit หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับระยะทางระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์ หรือ 150 ล้านกิโลเมตร)  ดาวพลูโตและดาวเคราะห์แคระซึ่งถูกค้นพบใหม่เป็นวัตถุในแถบคอยเปอร์  เช่น เอริส เซดนา วารูนา p11

p12

เมฆออร์ต (Oort Cloud) นักดาราศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ แจน ออร์ต (Jan Oort) ตั้งทฤษฏีว่า บริเวณขอบนอกของระบบสุริยะเป็นทรงกลม ซึ่งมีขนาดรัศมีประมาณ 50,000 AU จากดวงอาทิตย์  ห่อหุ้มด้วยวัสดุจำพวกน้ำแข็ง ซึ่งหากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมากระทบกระเทือน น้ำแข็งเหล่านี้จะหลุดเข้าสู่วงโคจรรอบดวงอาทิตย์ กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-period comets) ซึ่งมีคาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์นานหลายหมื่นปี  เมื่อดาวหางโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ แรงโน้มถ่วงจากดาวเคราะห์จะส่งอิทธิพลให้เปลี่ยนเป็นดาวหางวงโคจรคาบสั้น (Short-period comets) เช่น ดาวหางฮัลเลย์มีวงโคจรรูปวงรีแคบและคาบเกี่ยวกับวงโคจรของดาวยูเรนัส มีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์เพียง 78 ปี  ดาวหาง (Comets) เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อย แต่มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีแคบ และทำมุมเอียงตัดกับระนาบของสุริยวิถีเป็นมุมสูง  ดาวหางมีองค์ประกอบเป็นน้ำแข็ง (Ice water) และแก๊สในสถานะของแข็ง เมื่อดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์ พลังงานจากดวงอาทิตย์ทำให้มวลของดาวหางระเหิดกลายเป็นแก๊ส   ลมสุริยะเป่าให้แก๊สเหล่านี้ให้พุ่งไปในทิศทางตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ปรากฏเป็นหางยาวหลายล้านกิโลเมตร  p13

p14

p15

เทียบขนาดดาวเคราะห์แคระกับโลก ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf Planets) เป็นนิยามใหม่ของสมาพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union) ที่กล่าวถึง วัตถุขนาดเล็กที่มีรูปร่างคล้ายทรงกลม (ภาพที่ 2) ที่มีวงโคจรเป็นรอบดวงอาทิตย์ ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอื่น และไม่อยู่ในระนาบของสุริยวิถี ยกตัวอย่าง ดาวพลูโตถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แคระ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายทรงกลม มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ซ้อนทับกับวงโคจรของดาวเนปจูน และเอียงตัดกับระนาบสุริยวิถีเป็นมุม 17°   ดาวเคราะห์น้อยซีรีส ถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แคระ เนื่องจากมีลักษณะคล้ายทรงกลม มีวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ซ้อนทับกับวัตถุอื่นๆ ที่อยู่ในแถบเข็มขัดดาวเคราะห์น้อย  ดวงจันทร์บริวาร (Moons หรือ Satellites) หมายถึง ดาวที่เป็นบริวารโคจรรอบดาวเคราะห์อีกที่หนึ่ง มิได้โคจรรอบดวงอาทิตย์โดยตรง  โลกมีบริวารชื่อ ดวงจันทร์ (The Moon) โคจรล้อมรอบ  ขณะที่ดาวเคราะห์ดวงอื่นก็มีดวงจันทร์บริวารโคจรล้อมรอบเช่นกัน ยกตัวอย่าง ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์ขนาดใหญ่ 4 ดวง (Galilean moons) ชื่อ ไอโอ (Io), ยูโรปา (Europa), กันนีมีด (Ganymede) และคัลลิสโต (Callisto)  ดาวเสาร์มีดวงจันทร์บริวารขนาดใหญ่ชื่อ ไททัน (Titan)  เทียบขนาดดาวเคราะห์แคระกับโลก p16

p17

(3) (1) (1) (2) (13) (63) (60) (27) p18

p19

กฏการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ระบบสุริยะ p20

กิจกรรมพิสูจน์กฎของ เคพเลอร์ เวลา 1 ชั่วโมง วาดวงรีให้เสร็จในเวลา 60 วินาที c กับ d เส้นรอบวง อัตราเร็ว c d ควร วาด รูปวงรีที่มี ระยะ c กับ d แตกต่างกัน อย่างน้อย 3 รูป 1) อัตราเร็วในเวลาเท่ากันการวาดรูปวงรีที่มีระยะ c ถึง d ไม่เท่ากันแตกต่างกันอย่างไร 2) นักเรียนกำลังพิสูจน์กฏข้อที่เท่าไรของเคพเลอร์ 2 a b p21

p22

ความลับดวงอาทิตย์ ผลของดวงอาทิตย์กับโลก p23 จาก VDO นักเรียนสรุปผลกระทบจากดวงอาทิตย์ต่อโลกได้ p23

จากความลับของดวงอาทิตย์ จงอธิบายในประเด็นต่อไปนี้ 1) ดวงอาทิตย์ สร้างพลังงานได้อย่างไร 2) ดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเอง อย่างไร 3) ดวงอาทิตย์เกิดสนามแม่เหล็กได้อย่างไร สนามแม่เหล็กดวงอาทิตย์เป็นอย่างไร 4) ปรากฏการณ์ลุกจ้า (Solar flare) 5) ลมสุริยะ (Solar wind) 6) จุดมืดดวงอาทิตย์ (Sunspot) 7) พายุสุริยะ (solar storm) 8) แสงเหนือใต้ (aurora)

9) คอโรนา (Corona) และ CME; Colona Mass Ejection 10) นิวเคลียร์ฟิวชัน (Nuclear fusion) ที่ดวงอาทิตย์ 11) ผลกระทบต่อโลกที่มีจากปรากฏการณ์ของดวงอาทิตย์ 12) พัฒนาการของดวงอาทิตย์ และเวลาในการปลดปล่อยพลังงาน

โครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์ โครงสร้างภายในของดวงอาทิตย์   แก่นปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (Fusion core)​ อยู่ที่ใจกลางของดวงงอาทิตย์ถึงระยะ 25% ของรัศมี แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ทำให้มวลสารของดาวกดทับกันจนอุณหภูมิที่ใจกลางสูงถึง 15 ล้านเคลวิน จุดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันหลอมอะตอมของไฮโดรเจนให้กลายเป็นฮีเลียม และปลดปล่อยพลังงานออกมา  โซนการแผ่รังสี (Radiative zone) อยู่ที่ระยะ 25 - 70% ของรัศมี พลังงานที่เกิดขึ้นจากแก่นปฏิกรณ์นิวเคลียร์ถูกนำขึ้นสู่ชั้นบนโดยการแผ่รังสีด้วยอนุภาคโฟตอน  โซนการพาความร้อน (Convection zone) อยู่ที่ระยะ 70 - 100% ของรัศมี พลังงานที่เกิดขึ้นไม่สามารถแผ่สู่อวกาศได้โดยตรง เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์เต็มไปด้วยแก๊สไฮโดรเจนซึ่งเคลื่อนที่หมุนวนด้วยกระบวนการพาความร้อน  พลังงานจากภายในจึงถูกพาออกสู่พื้นผิวด้วยการหมุนวนของแก๊สร้อน

คอโรนา (Corona) โครโมสเฟียร์ (Chromosphere) โฟโตสเฟียร์ (Photosphere) โฟโตสเฟียร์         โฟโตสเฟียร์ (Photosphere) คือบรรยากาศชั้นล่างสุดของดวงอาทิตย์ ซึ่งเรามองเห็นเมื่อมองดูจากโลก  โฟโตแปลว่า แสง  สเฟียร์แปลว่า ทรงกลม ดังนั้น โฟโตสเฟียร์จึงแปลว่า ทรงกลมแสง ใต้ชั้นโฟโตสเฟียร์ลงไปแก๊สร้อนอัดตัวกันแน่น จนแสงไม่สามารถทะลุขึ้นมาได้ แสงอาทิตย์ที่เรามองเห็นมาจากชั้นโฟโตสเฟียร์ ซึ่งมีความหนาเพียง 400 กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 5,800 เคลวิน  โฟโตสเฟียร์ คอโรนา          คอโรนา (Corona) เป็นบรรยากาศชั้นบนสุด สามารถมองเห็นได้เป็นวงแสงสีขาว เมื่อเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงเท่านั้นดังภาพที่ 8  คอโรนามีรูปทรงตามสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์ คอโรนามีความเบาบางมากแต่มีอุณหภูมิสูงถึง 2 ล้านเคลวิน อะตอมจึงเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมาก อย่างไรก็ตามบริเวณคอโรนาไม่มีความร้อนสูงเนื่องจากมีแก๊สอยู่เบาบางมาก   ในบางครั้งดวงอาทิตย์มี "การปล่อยก้อนมวลจากคอโรนา" (Colona Mass Ejection เขียนย่อว่า CME) สู่อวกาศ  ซึ่งถ้าอนุภาคประจุของ CME มีความหนาแน่นและเดินทางมาสู่โลกก็จัดเป็นพายุสุริยะเช่นกัน  โครโมสเฟียร์         โครโมสเฟียร์ (Chromosphere) เป็นบรรยากาศชั้นกลางของดวงอาทิตย์  โคโมสเฟียร์แปลว่า ทรงกลมสี เราสามารถมองเห็นเป็นพวยแก๊สสีแดงตามขอบของดวงอาทิตย์ ขณะที่เกิดสุริยุปราคาเต็มดวง หรือมองดูด้วยกล้องโทรทรรศน์ติดตั้งแผ่นกรองแสงไฮโดรเจน - อัลฟา   โครโมสเฟียร์มีความหนาประมาณ 2,000 กิโลเมตร และมีอุณหภูมิเกือบ 25,000 เคลวิน  โดยปกติเรามองไม่เห็นโครโมสเฟียร์เนื่องจากโฟโตสเฟียร์ซึ่งเป็นบรรยากาศชั้นล่างมีความสว่างกว่ามาก