ก้าวย่างไปข้างหน้าอย่างไร เพื่อมุ่งสู่การยุติปัญหาเอดส์ สุภัทรา นาคะผิว มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์
ยุติการเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากเอดส์ Zero Discrimination การเลือกปฏิบัติ หมายถึง การกระทำหรืองดเว้นการกระทำใดๆในลักษณะแบ่งแยก กีดกัน หน่วงเหนี่ยว จำกัดโอกาส ส่งผลให้บุคคลหรือกลุ่มคนไม่ได้รับสิทธิ เสรีภาพ อันพึงมีพึงได้ เพราะเหตุแห่งความแตกต่างมาจากถิ่นกำเนิด เพศ อายุ ความพิการ สีผิว เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา การศึกษา ความคิดเห็นทางการเมือง สถานภาพทางกายหรือสุขภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม
กรอบการดำเนินงานเพื่อลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ และ การส่งเสริมคุ้มครองสิทธิ เป้าหมาย ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 สร้างความเข้าใจเรื่องการตีตรา เพื่อไม่มีการเลือกปฏิบัติ ดูแลคุ้มครองสิทธิ เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิ Social & Policy environment การสื่อสารสาธารณะ “Normalize HIV” การขับเคลื่อนเชิงนโยบายกฎระเบียบ คช.ปอ. + คณะ อนุกรรมการฯ การส่งเสริมการนำแนวปฏิบัติแห่งชาติฯ ไปใช้ การจัดสภาวะแวดล้อมและปรับระบบบริการเพื่อไม่มี S-D ในสถานบริการสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพ สถานบริการสุขภาพฯ/ศึกษา/ยุติธรรม ฯลฯ การสนับสนุนกลไกคุ้มครองสิทธิ การสนับสนุนเครือข่ายคุ้มครองสิทธิจังหวัด Organization & Network การพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อให้บุคลากรมีความเข้าใจการตีตราและไม่เลือกปฏิบัติ การช่วยเหลือทางกฎหมาย การแทรกแซงทางสังคม (Social sanction) ฯลฯ การพัฒนาศักยภาพกลุ่ม PLHIV+& KAP เข้าใจสิทธิ ลดการตีตราภายในตนเอง เห็นศักยภาพตนเอง และมีทักษะการจัดการปัญหา เข้าใจเรื่องสิทธิและมีส่วนร่วมในการคุ้มครองสิทธิเพื่อน “นักกฎหมายเท้าเปล่า” Individual M & E การพัฒนาระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ S-D การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการละเมิดสิทธิฯ Context นโยบายรัฐบาล งบประมาณ ค่านิยมทางสังคมวัฒนธรรม กลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่างๆ อื่นๆ
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ(1) ระดับนโยบาย กฎหมาย การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดการเลือกปฏิบัติ - การพัฒนากฎหมายส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้าน เอดส์ภายในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล - การสื่อสารสาธารณะ Normalize HIV - การจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอสำหรับการ ดำเนินงานด้านลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ -
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ-(2) ระดับสถาบัน/องค์กร/เครือข่าย - การพัฒนากลไกการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ระดับจังหวัด - พัฒนาระบบการรับเรื่องร้องเรียน การบันทึกข้อมูลการร้องเรียน เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนดำเนินงาน - การบังคับใช้แนวปฏิบัติแห่งชาติเรื่องเอดส์ในสถานที่ทำงาน และในสถานศึกษา หน่วยงานรัฐทุกหน่วยงานต้องเริ่มก่อน ต้อง เป็นแบบอย่าง - การเพิ่มขีดความสามารถให้กับภาคประชาสังคมและกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบในการทำงานด้านลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ - การสนับสนุนให้ภาคประชาสังคมและผู้ได้รับผลกระทบมีส่วนร่วมในการจัดบริการด้านเอดส์และสุขภาพ (Com-led Health services-CLHS)
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ-(3) ระดับบุคคล การสนับสนุนการทำงานกับผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี ผู้ได้รับผลกระทบ กลุ่ม เปราะบาง เพื่อลดการตีตราภายใน (Reduce Self stigma)
สิ่งที่ต้องทำ(เพิ่ม)เพื่อยุติการเลือกปฏิบัติ-(4) การพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลด้านยุติการเลือกปฏิบัติ
เรียนด้วยกันได้ HIV ทำงานด้วยกันได้ อยู่ร่วมกันได้