ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการตรวจ ราชการ นพ. ธีรพล โตพันธานนท์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
Report การแข่งขัน.
PITH ANALYSIS THAILAND PLASTICS ANALYSIS REPORT
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
นพ.เฉวตสรร นามวาท กรมควบคุมโรค
คู่มือคุณภาพ Quality Manual
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Economics for Everyday Life)
การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management)
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
ตัวชี้วัด 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงาน วิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง ทันตแพทย์หญิงสุณี วงศ์คงคาเทพ ทันตสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ(ด้านทันตสาธารณสุข)
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
รายงานการประเมินตนเอง
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงินระดับ 7
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
Performance Agreement : PA ปี 2560
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
กระบวนการหนังสือราชการ สำนักโรคติดต่อทั่วไป
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
โทร. (มท) หรือ โทร มีนาคม 2559.
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (Probability of an event)
โดย งานบริหารบุคลากรและค่าตอบแทน
การบริหารจัดการในชั้นเรียน (Classroom Management)
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
ตัวอย่างที่ 2.11 วิธีทำ.
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
ประกาศคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
แรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่16: ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รอบ 5 เดือนแรก (ต.ค.59-ก.พ.60) สำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

1. ข้อสังเกตโดยรวม จากการประเมินตนเองของตัวตัวชี้วัดที่ 16 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือ นวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง พบว่าหน่วยงานที่ตอบโจทย์ตัวชี้วัดทั้งหมด 27 หน่วยงานตามเป้าหมาย (ร้อยละ 100)

2. ข้อสังเกตต่อผลการประเมินตัวชี้วัด 2.1 กรณี 16.1 : งานวิจัย จากการวิเคราะห์พิจารณาจากความก้าวหน้าและคุณภาพของการดำเนินงาน พบว่าส่วนใหญ่มีการดำเนินงานตามขั้นตอนการประเมินถูกต้อง ครบถ้วน และมีการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วนของแผนปฏิบัติงานวิจัยจำนวน 10 หน่วยงาน(ร้อยละ 100) 2.2 กรณี 16.2 : ผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม จำนวน 17 หน่วยงาน จากการวิเคราะห์ตามเกณฑ์การประเมินแต่ละขั้นตอนพบว่า มีการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินตามขั้นตอนที่ 1-3 และมีหลักฐานถูกต้องและครบถ้วน จำนวน 13 หน่วยงาน(ร้อยละ 76.50) และหน่วยงานยังไม่ดำเนินตามเกณฑ์ และหลักฐานยังไม่ครบ จำนวน 4 หน่วยงาน(ร้อยละ 23.50)

3. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตัวชี้วัด 3.1 กรณี 16.1 : งานวิจัย ควรกำหนดเกณฑ์การประเมินสำหรับโครงการวิจัยใหม่ และโครงการวิจัยต่อเนื่องแยกออกจากกันเพื่อให้การประเมิน และควบคุม กำกับกระบวนการวิจัยได้อย่างถูกต้อง และสมบูรณ์ 3.2 กรณี 16.2 : ผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม กรอบการประเมินผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม มีความยากง่าย และรูปแบบการผลิตผลงานที่แตกต่างกัน จึงควรมีข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดมาตรฐาน และกรอบการประเมินให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทอย่างเป็นทางการในระดับกรมอนามัยต่อไป

เกณฑ์การประเมินรอบ 5 เดือนหลัง (มี.ค.60-ก.ค.60)  16.2 : กรณีงานวิจัย

 16.2 : กรณีผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล : 1. หน่วยงานส่งรายงานการประเมินตนเอง และสรุปบทเรียนSmall Success (special report) ในระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติการ(DOC) กรมอนามัย ในรอบ 5 เดือนแรก และรอบ 5 เดือนหลัง 2. นำผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ หรือนวัตกรรมแนบหลักฐานขึ้นเว็บไซต์ของหน่วยงาน 3. นำผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ หรือนวัตกรรมแนบหลักฐานขึ้นเว็บไซต์ระบบสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (P&E Distribution) http://203.157.65.18/doh_info/web/ ผู้ประสานตัวชี้วัด 1. นางสาวสมพร อิทธิเดชพงศ์ สำนักคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โทร. 02-5904595 2. นายไพรชล ตันอุด กลุ่มพัฒนาวิชาการงานวิจัย โทร. 02-5904143 3. นางสาวสุพรรณิการ์ บุษราคัม กลุ่มพัฒนาวิชาการงานวิจัย โทร. 02-5904143 4. นางสาวชนกพร แสนสุด กลุ่มพัฒนาการจัดการความรู้ โทร. 02-5904596 5. นางสาวพรรณธิภา ศรีชนะ กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ โทร. 02-5904596