รัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมืองไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รัฐธรรมนูญกับการปฏิรูปการเมืองไทย บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ ประธานสภาพัฒนาการเมือง ศาสตราจารย์ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กรรมการวิชาการ สถาบันพระปกเกล้า

รัฐธรรมนูญและโครงสร้างทางการเมือง ความหมายของรัฐธรรมนูญ * กฎหมาย กฎเกณฑ์ เอกสารทางกฎหมายขั้นสูงสุด แบบแผนพื้นฐานทางกฎหมาย * อาจเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ * กำหนดรูปแบบของรัฐและรัฐบาล * ลักษณะและแนวทางเกี่ยวกับรัฐ * วางหลักการใช้อำนาจอธิปไตย หลักการปกครองประเทศ * การจัดตั้ง การดำเนินการใช้และการสืบทอดอำนาจในรัฐ

ลักษณะพิเศษของรัฐธรรมนูญ 4 ประการ 1.ความเป็นกฎหมายสูงสุด เหนือกฎหมายทั้งปวง 2.กำหนดหลักการและวิธีการในการปกครองประเทศตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจต่างๆ 3.กำหนดหลักประกันเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน 4.ความเป็นกฎหมายหลักในการใช้บังคับ การเปลี่ยนแปลงแก้ไขและการตีความที่มีลักษณะพิเศษ แตกต่างไปจากกฎหมายธรรมดา

ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ 1. ด้านกฎหมาย 2. ด้านการเมือง 3. ด้านสังคม 4. ด้านเศรษฐกิจ

ขบวนการรัฐธรรมนูญนิยม * ความหมายของรัฐธรรมนูญนิยม(Constitutionalism) * ความเป็นมาของขบวนการรัฐธรรมนูญนิยม - Magna Carta ค.ศ. 1215 - กฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ - รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1787 - ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ค.ศ. 1789

เป้าหมายของขบวนการรัฐธรรมนูญนิยม 1. กำจัดระบอบเผด็จการ สร้างสรรค์ประชาธิปไตย 2. กำหนดกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน-แน่นอน 3. การสร้างเสถียรภาพและประสิทธิภาพแก่สถาบันทางการเมือง 4. หลักประกันเสรีภาพของประชาชน

เนื้อหาของรัฐธรรมนูญ 1. การจัดการอำนาจอธิปไตย 2. การจัดระเบียบการปกครอง 3. การรับรองสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน 4. การแสดงถึงอุดมการณ์แห่งรัฐ

1.รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร 2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี รูปแบบของรัฐธรรมนูญ 1.รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร 2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี

โครงสร้างอำนาจทางการเมือง 1. องค์อธิปัตย์ 2. ผู้ปกครอง 3. อำนาจรัฐหรืออำนาจทางการเมือง  

สถานะทางกฎหมายของผู้ปกครอง 1. การเป็นตัวแทนของรัฐ 2.ความชอบธรรมของผู้ปกครอง 3. ผู้ปกครองในฐานะผู้ใช้อำนาจมหาชน

การควบคุมอำนาจรัฐ 1. ระบอบรัฐธรรมนูญ - รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด - แบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจ - รัฐบาลที่ถูกต้องตามกฎหมาย - รัฐบาลที่ชอบธรรม

ระบบนิติรัฐ (Rule of Laws) 1. กฎหมายอยู่เหนือสิ่งอื่นใด 2. ขอบเขตแห่งอำนาจหน้าที่ของรัฐถูกกำหนดไว้ เป็นที่แน่นอน 3. สถาบันศาลมีความเป็นอิสระอย่างแท้จริง

การปกครองแบบประชาธิปไตยโดยผู้แทนราษฎร 1. ความหมาย 2. แนวคิดและความเป็นมา 3. การแบ่งแยกองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตย

รูปแบบการใช้อำนาจอธิปไตย 1. รูปแบบรัฐสภา (Parliamentary System) 2. รูปแบบประธานาธิบดี (Presidential System) 3. รูปแบบกึ่งประธานาธิบดี (Semi- Presidential System) 4. รูปแบบรัฐสภาที่นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง โดยตรงของประชาชน

รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย พัฒนาการของรัฐธรรมนูญไทย 1. ยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 2. ยุคหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

แนวคิดรัฐธรรมนูญไทยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 1. ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พ.ศ.1826 ปฐมรัฐธรรมนูญของไทย 2. แนวคิดการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่ 5 3. แนวคิดการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่ 6 4. แนวคิดการปกครองแบบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในสมัยรัชกาลที่ 7

รัฐธรรมนูญไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 รัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เป็นแนวทางการปกครองประเทศเป็นการชั่วคราวมี 7 ฉบับ คือ 1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ.2475 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490 3. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2502 4. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2515 5. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2520 6. ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2534 7. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2549

รัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เป็นแนวทางการปกครองประเทศ เป็นการถาวรมี 11 ฉบับ คือ 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2492 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2495 5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2511

รัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้เป็นแนวทางการปกครองประเทศเป็นการถาวรมี 11 ฉบับ (ต่อ) 6. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2517 7. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2519 8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2521 9. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 10.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 11.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

วิเคราะห์รัฐธรรมนูญไทย เผด็จการ กึ่งประชาธิปไตย ประชาธิปไตย 1.พ.ร.บ.รัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 2. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2502 3. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2515 1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2475 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2490 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2495 1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2489 2.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2492  3.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2517

วิเคราะห์รัฐธรรมนูญไทย (ต่อ) เผด็จการ กึ่งประชาธิปไตย ประชาธิปไตย 4. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2520 5. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2511 5.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2519 6.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2521 7.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534 8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2549 4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 5. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550

ขอขอบคุณ