การประกันคุณภาพภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา รศ. บรรพต พรประเสริฐ

หลักการทำประกันคุณภาพภายใน ๑.ดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีมาตรฐานเป็นเป้าหมายในการดำเนินการ เน้นการป้องกันมากกว่าการแก้ไข ๒.การมีส่วนร่วมจากบุคลากรภายในสถานศึกษา ชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกันดำเนินการ ๓.ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ทำไมต้องทำ การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ เป็นหน้าที่ของสถานศึกษา ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวดที่ 6 เป็นกลยุทธ์ของหน่วยงานต้นสังกัด สพฐ. เน้นการประกันคุณภาพภายใน การแสดงความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้

ทำเพื่ออะไร 1.สร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ว่าผู้เรียนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงเท่าเทียมและมีคุณภาพได้มาตรฐานที่กำหนดไว้

ทำเพื่ออะไร 2.เพื่อให้สถานศึกษาดำเนินการอย่างมีแบบแผน เป็นระบบ ในการพัฒนา ติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมิน คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษา ที่กำหนดจากกระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.)

ทำอย่างไร ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.ระบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Quality Control) โดยการการ กำหนดมาตรฐาน และการ พัฒนาสู่ มาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ ทบทวน และปรับปรุง คุณภาพ(Quality Audit and Intervention) 3. ระบบการประเมินและรับรองคุณภาพ(Quality Assessment and Accreditation)

การประกันคุณภาพ

กระบวนการประกันคุณภาพภายใน 1.การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3.การทำแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา (SIP) 4.การดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษา 5.การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา 6.การประเมินคุณภาพการศึกษา 7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SAR) 8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

๑.การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา 1. ไม่มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา 2. มีประกาศแต่ขาดหลักฐาน 3.มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา หรือ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างใดอย่างหนึ่ง 4.มีการประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาระดับสถานศึกษา และ เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานของหน่วยงานต้นสังกัด (สพฐ. 18 มาตรฐาน) มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จำแนกเป็น ๔ ด้าน คือ ๑. ด้านคุณภาพเด็ก ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่งชี้ ๒.ด้านการจัดการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๓.ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๒ ตัวบ่งชี้ ๔.ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่งชี้

มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำแนกเป็น ๔ ด้าน คือ ๑.ด้านคุณภาพผู้เรียน ๘ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้ ๒.ด้านการจัดการเรียนการสอน ๒ มาตรฐาน ๑๔ ตัวบ่งชี้ ๓.ด้านการบริหารและการจัดการศึกษา ๖ มาตรฐาน ๓๓ ตัวบ่งชี้ ๔.ด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ๒ มาตรฐาน ๔ ตัวบ่งชี้

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีจิตสำนึก ในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มาตรฐานที่ ๓ เด็กสามารถทำงาน จนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ ๔ เด็กสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๕ เด็กมีความรู้และทักษะเบื้องต้น มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ ๖ เด็กมีความสนใจ ใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มาตรฐานที่ ๗ เด็กมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๗ ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ ๘ เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานที่ ๘ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา

มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง 9.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 9.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี กับ เด็ก/ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อนร่วมงาน 9.3 มุ่งมั่นอุทิศตนในการสอน 9.4 แสวงหาความรู้ เทคนิคใหม่ๆ รับฟังความคิดผู้อื่น

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชมได้ดี และมีครูพอเพียง มาตรฐานที่ ๙ ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้า กับชุมชนได้ดี และมีครูพอเพียง 9.5 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเท่า ขึ้นไป 9.6 สอนตรงตามวิชาเอก-โท หรือตรงตามความถนัด 9.7 มีจำนวนพอเพียง (หมายรวมทั้งครูและบุคลากรสนับสนุน) 9.8 ได้รับการพัฒนาในวิชาที่สอน ตามที่คุรุสภากำหนด

มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน (ครู) ปฐมวัย-----------------------ขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ ๑๐ ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเน้นเด็กเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ ๑๐ ครู มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ เป้าหมายการจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐.๒ มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๑๐.๓ มีความสามารถในการจัดการเรียนการอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๔ มีความสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน ๑๐.๕ มีการประเมินผลการเรียนการอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน ๑๐.๖ มีการนำผลการประเมินพัฒนาการมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ ๑๐.๗ มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของผุ้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๑ ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำ และมี ความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๑๒ สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงาน และ พัฒนา องค์กรอย่างเป็นระบบครบวงจร มาตรฐานที่ ๑๓ สถานศึกษามีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ ๑๔ สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียน เป็น สำคัญ มาตรฐานที่ ๑๕ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่าง หลากหลาย มาตรฐานที่ ๑๖ สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนพัฒนา ตามธรรมชาติ

มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้แหล่ง เรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา

2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ระดับ 1-2 ระดับ 3 ระดับ 4 1-2 ไม่มีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา2.มีโครงสร้าง แต่ไม่มีร่องรอยว่าบุคลากรรับรู้และมีส่วนร่วม บุคลากรบางส่วน (ร้อยละ 50ขึ้นไป) รับรู้ว่ามีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา บุคลากรทุกคนรับรู้ว่ามีโครงสร้างการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 1-2 ไม่มีแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา มีแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแต่ไม่มีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา มีแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและมีการแต่งตั้งกรรมการตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษา

2.การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ระดับ 1-2 ระดับ 3 ระดับ4 1.ไม่มีการพัฒนายกระดับระบบข้อมูลสารสนเทศ 2.มีแต่ไม่เป็นระบบ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศทันสมัยทุกปีการศึกษา มีการพัฒนายกระดับระบบสารสนเทศให้ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด

3.การทำแผนพัฒนาสถานศึกษา ที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา(SIP) 1-2 ทุกโครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่มีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน 3 โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาน้อยกว่าร้อยละ 50 มีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติอย่างชัดเจน 4. ทุกโครงการ/กิจกรรม ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษามีขั้นตอนนำไปสู่การปฏิบัติอย่าง ชัดเจน

4.การดำเนินงานตาม แผนพัฒนาสถานศึกษา 1 ไม่มีร่องรอยการ พิจารณา ยอมรับให้ข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะใน แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา 2.ไม่มีร่องรอยการ มอบหมายการ ปฏิบัติงานใน แผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา 3. มีการ มอบหมาย การปฏิบัติงาน ในแผนพัฒนา คุณภาพ การศึกษาอย่าง ไม่เป็นทางการ 4. มีการ เป็นทางการ

5.การตรวจสอบและ ทบทวนคุณภาพการศึกษา 1-2 ไม่มีการนำเกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ และ แจ้งเกณฑ์ฯให้บุคลากรทราบ 3.บุคลากรบางส่วน(ร้อยละ 50ขึ้นไป) รับรู้ และยอมรับ เกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ 4.บุคลากรทุกคนรับรู้ และยอมรับ เกณฑ์ความก้าวหน้าของเรื่องหรือตัวบ่งชี้ ที่ต้องการตรวจสอบทบทวนคุณภาพฯ

6.การประเมินคุณภาพการศึกษา 1 ไม่มีแผนการประเมินคุณภาพการศึกษา 2. มีแผนการเพียง บางด้านไม่สมบูรณ์ 3.มีแผนการประเมินคุณภาพไม่ครบ 3 ด้าน 4. มีแผนการประเมินคุณภาพการศึกษาทั้ง 3 ด้าน คือผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะสำคัญและคุณภาพตามมาตรฐาน

7.การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SAR) 1-2 ไม่มีร่องรอยว่าได้เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง หรือรายงานต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไม่ตรงตามกำหนดเวลา 3.เผยแพร่เฉพาะผู้เกี่ยวข้อง และรายงานต่อสพท. กำหนดเวลา 4.รายงานคุณภาพประจำปี เผยแพร่ต่อสาธารณชนและผู้เกี่ยวข้อง และรายงานต่อต้นสังกัดตามกำหนดเวลา(ภายในเดือน พฤษภาคมของทุกปี)

8.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 1.ไม่มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพประจำปี 2.มีแต่ขาดหลักฐาน 3.มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพประจำปีบาง กิจกรรมที่เป็นจุดอ่อนที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา 4.มีการวิเคราะห์ผลรายงานคุณภาพ ประจำปีทุกกิจกรรมที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

กระบวนการพัฒนาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีมาตรฐานเป็น เป้าหมาย (School Improvement Plan : SIP) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี ( SELF ASSESSMENT REPORT : SAR) ASSESSMENT

สพท. สมศ. 1.มาตรฐานการศึกษาของชาติ 1.สถานศึกษา พ.ร.บ. ร.ร.(SAR) 1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 1.มาตรฐานที่เขตพื้นที่เพิ่มเติม 1.สถานศึกษา ปัญหา/ความต้องการ ความร่วมมือของชุมชน 1.มาตรฐานการศึกษา / เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา พ.ร.บ. นโยบายต้นสังกัด วิสัยทัศน์,พันธกิจ 2.สารสนเทศ แผนการศึกษาของชาติ 3.แผนพัฒนาการศึกษา (School Improvement Plan) ศักยภาพสถานศึกษา (ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน) 4.การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา 4.จัดการเรียน การสอน 4.การจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณภาพผู้เรียน 4.การพัฒนาบุคลากร (ภาวะผู้นำ/มืออาชีพ) 4.การพัฒนาองค์กร ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ 4.พัฒนาสภาพแวดล้อม และการให้บริการ 5.การตรวจสอบและทบทวนภายใน อย่างน้อย 1 ครั้ง/ 3ปี สพท. ร.ร.(SAR) 6.การประเมินคุณภาพภายใน/นอก สมศ. ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง 7.รายงานผล 8.พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง.

สวัสดี