1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง เป้าหมายประเทศ : ร้อยละ 85 เป้าหมายระดับจังหวัด : ทุกจังหวัด ในเขตสุขภาพที่ 2 EOC ระดับจังหวัดซ้อมแผนหรือยกระดับเปิดภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุขในพื้นที่ วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด จัดตั้งทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร 2 1 3 4 5
ผลการดำเนินงาน ขั้นตอน จำนวน จังหวัดที่ผ่าน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ 1. ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหารอย่างน้อยจังหวัดละ 2 คน -นพ.สสจ./ผชชว./รอง.ส 5 จังหวัด IC : มีการเปิดบัญชาการเหตุการณ์จริงยกระดับ EOC โรคไข้เลือดออก 2. จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดในส่วนภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) เพื่อปฏิบัติการในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - คำสั่ง MERT, EMS, MCAT, CDCU - มีคำสั่งครบ 5 จังหวัด -อุตรดิตถ์ฝึกซ้อมทีมMERTทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติภาคสนาม
ขั้นตอน จำนวน จังหวัดที่ผ่าน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ 3. จัดทีม SAT ระดับจังหวัด (ภาวะปกติอย่างน้อย 3 คน และภาวะฉุกเฉิน 4 คน) และ 50% -ผ่านการฝึกอบรมตามแนว ทาง SAT /รายชื่อเวร SAT ภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินฯ 5 จังหวัด - SAT จังหวัดรับการอบรบและไป OJT ที่สคร.2 5 จังหวัด - SATวิเคราะห์สถานการณ์เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและเสนอนพ.สสจ. พิจารณาเพื่อยกระดับ EOC ไข้เลือดออก - จัดทีมปฏิบัติงาน SA เป็นรายสัปดาห์ 3.1. จัดทำ Outbreak Verification list ทุกสัปดาห์ - การจัดสรุปรายงานสำหรับผู้บริหารนำเสนอผู้บริหาร รายสัปดาห์หรือรายเดือน 2 จังหวัด - จังหวัดตาก จำนวน 24 ฉบับ - จังหวัดสุโขทัย จำนวน 10 ฉบับ - จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 4 ฉบับ - จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 2 ฉบับ - จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 0 ฉบับ 3.2. จัดทำ Spot Report ได้ตามเงื่อนไข CIRและเวลาที่กำหนด - ตาก ร้อยละ 100 (39/39 เหตุการณ์) - สุโขทัย ร้อยละ 100 (14/14 เหตุการณ์) - เพชรบูรณ์ ร้อยละ 87 (7/8 เหตุการณ์) - อุตรดิตถ์ ร้อยละ 75 (3/4 เหตุการณ์) - พิษณุโลก ร้อยละ 47 (8/17 เหตุการณ์) 3 จังหวัด - นำเสนอผู้บริหาร นพ.สสจ. และแจ้งทาง group Line SAT การเขียนเนื้อหาใน spot report ได้ครบถ้วน พัฒนาระดับอำเภอสามารถแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติและรายงานเป็น spot report ทุกอำเภอ
ขั้นตอน จำนวน จังหวัดที่ผ่าน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ 4. วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด 2 จังหวัด - จ.สุโขทัย โรคพิษสุนัขบ้า โรคไข้เลือดออก - จ.เพชรบูรณ์ ไข้เลือดออก 5. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ 3 จังหวัด - จ.เพชรบูรณ์ โรคไข้เลือดออก จ.สุโขทัย โรคไข้เลือดออก จ.ตาก โรคโปลิโอ
จุดเด่น ปัจจัยแห่งความสำเร็จ สุโขทัย มี Supervisor : ผชชว. /หัวหน้า คร. เพชรบูรณ์ การกำกับให้มีการเปิด EOC ระดับอำเภอโดยมีนายอำเภอเป็นผู้สั่งการ ตาก จังหวัดพัฒนาระดับอำเภอให้สามารถแจ้งเหตุการณ์ผิดปกติ และรายงานเป็น spot report ทุกอำเภอ อุตรดิตถ์ การวิเคราะห์ความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพอย่างต่อเนื่องทุกปีและนำใช้การวางแผนการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ พิษณุโลก การประชุมเปิด EOC ผ่านระบบ Web Conference เพื่อสั่งการและติดตามการดำเนินงานทุกอำเภอ
ข้อเสนอแนะ 1.การให้ภารกิจตามโครงสร้างEOC ร่วมปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ 2.การจัดตั้งทีม CDCU ตาม พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 3.การเรียนรู้ร่วมกันของทีม SAT ด้าน CD/EN-OCC/RTI 4.สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังตามเกณฑ์ทุกสัปดาห์ ไม่มีสรุปเป็น zero report และนำเสนอผู้บริหารสั่งการ 5. จัดทำแผนเผชิญเหตุ (IAP) ใช้กำกับ การระดมทรัพยากร ติดตามประเมินผลการดำเนินงานควบคุมโรค 6.AAR EOC