เทคนิคการเลือกเครื่องป้องกัน ไฟกระโชกทางด้านสายจ่ายไฟ
What is SURGE ?
นิยามของไฟกระโชก What is surge ?
เทคโนโลยีของการป้องกันไฟกระโชกทาง ด้านสายจ่ายไฟ ชนิดของตัวป้องกัน (Type of protection devices) วงจรกรองความถี่ (Filtering circuit) รูปแบบของเครื่องป้องกัน
ชนิดลัดวงจรไฟฟ้า สปาร์คแกป (Spark gap arrester) แก็สดิสชาร์จ (Gas discharge tube)
ชนิดควบคุมแรงดันไฟฟ้า MOV (Metal Oxide Varistor)
วงจรกรองความถี่ (Filtering circuit) PI filter L filter T filter
รูปแบบของเครื่องป้องกัน แบบที่ต่อขนานกับวงจรไฟฟ้า (Shunt protection) แบบที่ต่ออนุกรมกับวงจรไฟฟ้า (Series protection)
แนวคิดในการเลือก ในสภาวะปกติ ต้องไม่ก่อให้เกิดผลผิดปกติต่อระบบงาน ในสภาวะวิกฤติที่มีไฟกระโชก แรงดันผ่านที่ปรากฎต่อระบบงานต้องไม่สูงเกินขีดพิกัด ในสภาวะวิกฤติที่มีไฟกระโชก เครื่องป้องกันต้องมีความเร็วในการตอบสนองต่อไฟกระโชกก่อนเกิดความเสียหาย ในสภาวะวิกฤติที่มีไฟกระโชก เครื่องป้องกันต้องสามารถทนต่อไฟกระโชกได้โดยไม่ถูกทำลาย
พารามิเตอร์และเรื่องที่ควรรู้ ระดับแรงดันปล่อยผ่าน (Let through voltage) Rate of rise of voltage (dv/dt) พิกัดไฟกระโชก (Surge rating) ความเร็วในการตอบสนอง (Surge response time)
ระดับแรงดันปล่อยผ่าน (Let through voltage) รูปคลื่นมาตรฐาน ANSI/IEEE C62.41-19991 Open circuit 1.2/50ms Short circuit 8/20ms
การแบ่งพื้นที่ใช้งาน (Location Categories) Cat A ควรเลือกค่าพิกัดไม่น้อยกว่า 500A Cat B ควรเลือกค่าพิกัดไม่น้อยกว่า 3000A Cat C ควรเลือกค่าพิกัดไม่น้อยกว่า 10000A
แรงดันทนได้ (Volt/Time Tolerance)
พิกัดไฟกระโชก (Surge rating)
ความเร็วในการตอบสนอง (Surge response time) แก็สดิสชาร์จ อยู่ในระดับ 500nsec MOV อยู่ในระดับ 25nsec Suppressor diode 100psec LPF เป็น Passive device ตอบสนองทันทีทันใด
บทสรุป ในสภาวะปกติ ต้องไม่ก่อให้เกิดผลผิดปกติต่อระบบงาน ในสภาวะวิกฤติที่มีไฟกระโชก แรงดันผ่านที่ปรากฎต่อระบบงานต้องไม่สูงเกินขีดพิกัด ในสภาวะวิกฤติที่มีไฟกระโชก เครื่องป้องกันต้องมีความเร็วในการตอบสนองต่อไฟกระโชกก่อนเกิดความเสียหาย ในสภาวะวิกฤติที่มีไฟกระโชก เครื่องป้องกันต้องสามารถทนต่อไฟกระโชกได้โดยไม่ถูกทำลาย