DENGUE HEMORRHAGE FEVER โรคไข้เลือดออก จังหวัดศรีสะเกษ DENGUE HEMORRHAGE FEVER
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ข้อมูลจากระบบรายงานเร่งด่วน สำนักระบาดวิทยา(ณ 20พย.55) มีค. เมย. กค. ตค. พย. จำนวนผู้ป่วย(ราย) 3817 6311 23313 52008 63358 อัตราป่วย (แสนปชก.) 5.99 9.88 36.34 81.42 99.19 เสียชีวิต (ราย) 5 6 27 50 63 อัตราป่วยตาย(ร้อยละ) 0.01 0.10 0.12
อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2550-2555 จำแนกรายภาคและจังหวัดศรีสะเกษ อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2550-2555 จำแนกรายภาคและจังหวัดศรีสะเกษ ต่อแสนปชก.
เปรียบเทียบอัตราป่วยไข้เลือดออก ประเทศไทยและจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2555 จำแนกรายเดือน
จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จ.ศรีสะเกษ จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกปี 2555 เทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี จ.ศรีสะเกษ ราย
ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต ปี 2555 ประเทศไทย ผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิต ปี 2555 ประเทศไทย
ผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จำแนกตามกลุ่มอายุ ผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จำแนกตามกลุ่มอายุ กลุ่มอายุผู้ป่วยไข้เลือดออก เรียงจากมากไปหาน้อย : 10-14,5-9 ,15-24,0-4, 25-34,35-44,45-54, 55-64และ65+ปี (ประเทศไทยและศรีสะเกษ)
อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ (ณ 19 พย อัตราป่วยไข้เลือดออก ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกรายอำเภอ (ณ 19 พย.55)
ผลการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ ข้อมูลจากสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7
ผลการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ ปี 2555 จังหวัดศรีสะเกษ พบเป็น D1= 2ราย D4=2 ราย
จุดเน้นการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2556 งานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 6 มาตรการ 1.อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 3.พัฒนาข่าวกรอง พยากรณ์และเตือนภัยไข้เลือดออก 4.พัฒนากลไกและขั้นตอนการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคติดต่อนำโดยแมลง 5.พัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยี่ทันสมัยในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมไข้เลือดออก 6.พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการโรคติดต่อนำโดยแมลง
อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 5 กิจกรรม 1.สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายระดับตำบลในการจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน(IVM) 2. สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยวปลอดลูกน้ำ 3. สนับสนุน พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบยั่งยืน(PAR) 4.เครือข่ายระดับท้องถิ่นนำ พรบ.สาธารณสุขมาใช้ลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคไข้เลือดออก 5.เร่งรัดอำเภอดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก(สุ่มสำรวจค่าดัชนีความชุกลูกน้ำ 3 รอบ กพ.,พค.,สค.)
รายชื่อพื้นที่ดำเนินการ จังหวัดศรีสะเกษ รายชื่อพื้นที่ดำเนินการ จังหวัดศรีสะเกษ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุนหาญ อำเภอขุขันธ์ อำเภอภูสิงห์