Chapter 11 Nursing Care of the Child of Infection Disease อ.สุมาลา สว่างจิต
จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ 1.บอกช่องทางของการติดเชื้อในเด็กได้อย่างถูกต้อง 2. อธิบายเกี่ยวกับโรคติดเชื้อในเด็กที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างถูกต้อง 3. บอกการพยาบาลเกี่ยวกับโรคติดเชื้อในเด็กที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอย่างถูกต้อง 4. อธิบายเกี่ยวกับโรคติดเชื้ออื่นๆในเด็กอย่างถูกต้อง 5. บอกการพยาบาลเกี่ยวกับโรคติดเชื้ออื่นๆในเด็กได้อย่างถูกต้อง
Infection Disease is …………………………… โรคที่สามารถติดต่อจากบุคคลหนึ่งไปสู่อีกบุคคลหนึ่งด้วยช่องทางการแพร่กระจายเชื้อ
ช่องทางการแพร่กระจายเชื้อ 1.Contact transmission 1.1 Direct contact 1.2 Indirect contact 2. Droplet transmission 3-6 ฟุต Respiratory > 5 micron 3. Airborne transmission Air Respiratory 1-5 micron
History Contact Vaccine ประวัติการเป็นโรค Clinical sign Laboratory Assessment History Contact Vaccine ประวัติการเป็นโรค Clinical sign Laboratory
Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine Nursing Care of the other Infection Disease
Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine โรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ โรคที่ส่งผลต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง
Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine โรคที่ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจ วัณโรค โรคคอตีบ โรคไอกรน คางทูม
วัณโรค (Tuberculosis) Mycobacterium tuberculosis สวล. อากาศถ่ายเท 20-30 ชม. อับชื้น 1 wk เข้าสู่ร่างกาย ระยะฟักตัว 2-10 wk
วัณโรค (Tuberculosis) อาการและอาการแสดง Exposure/Contact แข็งแรง, tuberculin test –ve, Normal CXR, อาจอยู่ระยะฟักตัว Latent tuberculin infection: LTBI แข็งแรง, tuberculin test –ve, abnormal CXR (พบน้อย) Tuberculosis disease/ Active TB แสดงอาการตามตำแหน่ง, 50% abnormal CXR Pulmonary tuberculin Lymph node tuberculosis Neurological tuberculosis Bones and/or joints (พบน้อย)
วัณโรค (Tuberculosis) ความแตกต่างของวัณโรคในเด็กและผู้ใหญ่ เด็ก ผู้ใหญ่ การติดเชื้อเป็นแบบ Primary tuberculosis Reactivation รอยโรคที่ปอดมักพบร่วมกับต่อมน้ำเหลืองขั้วปอดโต - Cavitation พบได้น้อย พบเชื้อในเสมหะน้อย มีมากกว่า ได้รับเชื้อจากผู้ใหญ่ในบ้าน ในบ้าน/ ที่ทำงาน -TB lung หายสนิท -Meningitis จะมี รอยโรค (sequelea) -เหลือแผลเป็น (fibrosis) - Sequelea น้อยกว่า Miliary TB and Meningitis (<5ปี) น้อยกว่า
วัณโรค (Tuberculosis) การวินิจฉัย Hx. Contact Tuberculin test ,ID ที่ท้องแขน ฉีดยา 48 และ 72 ชม. ตุ่ม > 5 mm (low immune) - 10 mm +ve CXR Acid fast Bacilli: AFB ต้องมีเชื้อ 5,000-10,000 ตัว/ml เพาะเชื้อ
วัณโรค (Tuberculosis) การรักษา Exposure/Contact Isonacid 3-6 เดือน Latent tuberculin infection: LTBI Isonacid 3-6 เดือน Tuberculosis disease/ Active TB 2 เดือนแรก Isonacid, Rifampin, Pyrazinamide และ Ethambutal/ Streptomycin , TB ปอดและต่อมน้ำเหลืองให้ Isonacid, Rifampin ต่อ 4 เดือน และให้ต่อ 10 เดือนในสมองและกระดูกและข้อ
โรคคอตีบ (Diphtheria) ติดเชื้อเฉียบพลันระบบทางดินหายใจ Corynebacterium diphtheria ฟักตัว 2-5 วัน ระยะติดต่อ 2 wk หรือจนกว่าเชื้อจะหมด Droplet
โรคคอตีบ (Diphtheria) อาการและอาการแสดง Anterior nasal diphtheria คล้ายหวัด Pharyngeal and tonsillar diphtheria พบบ่อย ดูดซึมพิษ มาก มีแผ่นเยื้อเทา (Tenacious gray pseudomembrane) อุดกั้น ทางเดินหายใจ พบ bull neck Laryngeal diphtheria ลามจากที่อื่น เสียงแหบ อุดกั้นทางเดิน หายใจ บริเวณอื่นๆ
โรคคอตีบ (Diphtheria) ภาวะแทรกซ้อน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ เส้นประสาทอักเสบ การรักษา diphtheria antitoxin ATB ประคับประคอง
โรคไอกรน(Pertussis) ไอ 3 เดือน หรือไอร้อยวัน < 6 เดือน เกิดจาก Bordetella Pertussis ฟักตัว 7-10 วัน ระยะติดต่อ 3 wk Droplet
Catarrhal stage คล้ายหวัด 1-2 wk โรคไอกรน(Pertussis) แบ่งเป็น 3 ระยะ Catarrhal stage คล้ายหวัด 1-2 wk Paroxysmal stage รุนแรง ไอเป็นชุด ตัวเขียว 2-3 wk Convalescent stage ดีขึ้นหายใน 2-3 wk
การรักษา จำเพาะ ให้ ATB Erythromycin ตามอาการ โรคไอกรน(Pertussis) การรักษา จำเพาะ ให้ ATB Erythromycin ตามอาการ
อาการ ไข้ ปวด Parotitis ข้างเดียวหรือสองข้าง โรคคางทูม (Mump) สาเหตุ Mump virus ตระกูล Paramyxovirus อยู่ในน้ำลาย การติดต่อ Droplet ระยะฟักตัว 14 – 18 วัน บางรายอาจยาวถึง 25 วัน ระยะติดต่อ 3 วัน ก่อนเริ่มป่วยจนถึง 4 วัน หลังเริ่มป่วย อาการ ไข้ ปวด Parotitis ข้างเดียวหรือสองข้าง อาการแทรกซ้อน Aseptic meningitis, ลูกอัณฑะอักเสบ, ฏ Deafness, Encephalitis
โรคคางทูม (Mump) การรักษา Supportive
Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine (ต่อ) โรคที่ส่งผลต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ โรคบาดทะยัก โรคโปลิโอ โรคไข้สมองอักเสบ เจอี
โรคบาดทะยัก (Tetanus) สาเหตุจากเชื้อ Clostridium tetani เข้าทางบาดแผลฟักตัว 3-21 วัน อาการของโรคบาดทะยัก 1-7 วัน กล้ามเนื้อเกร็งตัวทั่วร่างกาย ปวดกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย กล้ามเนื้อช่วยหายใจไม่ทำงานเกิดภาวะหายใจลำบาก/ Respiratory Failure อ้าปากไม่ได้ กลืนน้ำลายลำบาก /อาจจะเสียชีวิตจากอาการที่สำคัญlockjaw คอและหลังมีการเกร็งทำให้นอนแอ่นหลัง
โรคบาดทะยัก การรักษา ต้องนอนโรงพยาบาล ควรจะอยู่ ICU ห้องที่อยู่ควรจะเงียบ แสงสว่างไม่มาก ATB ให้ยา tetanus antitoxin ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ ทำความสะอาดแผล
โรคโปลิโอ(Poliomyelitis) Picornaviridae และในกลุ่ม Enterovirus มี 3 Serotype คือ Type 1, 2 และ 3 พบ type 1 ทำให้เกิดอัมพาตและเกิดการระบาดได้บ่อย ฟักตัว 1-2 wk การติดต่อ คนกินเชื้อจากผู้ป่วยที่ออกมากับเสมหะ น้ำลายในขณะไอ จาม และ ออกปนกับอุจจาระ
อาการ Asymptomatic/unappearant infection ไม่มีอาการแต่พบเชื้อ แพร่เชื้อได้ Abortive poliomyelitis ไข้สั้นๆ เริ่มปวดเมื่อยตัว/หัว เบื่ออาหาร N/V อาจ มีท้องผูก ปวดท้องได้ Nonparalytic poliomyelitis ข้อ2+กล้ามเนื้อตึง (แขน ขา คอ ตัว) คอแข็ง/ หลังแข็ง ท้องผูก Paralytic poliomyelitis ข้อ3+ ไข้3-5 วัน+muscle weakness ตาม ตำแหน่ง Spinal form แขน ขา ลำตัว กน.คอ ท้อง Bulbar form เส้น ปส.สมอง กลืน พูด ทางเดินหายใจ Bulbospinal form ทั้ง 2 ที่ Encephalitic form สมอง confuse ซึม มือสั่น โรคโปลิโอ
การรักษา supportive ระวังไม่ให้เกิดอัมพาต โรคโปลิโอ การรักษา supportive ระวังไม่ให้เกิดอัมพาต
โรคไข้สมองอักเสบ เจอี (Japanese Encephalitis ) การติดต่อ พาหะ ยุงรำคาญชนิด Culex tritaeniorrhynchus (นา) Host หมู ยุงกัดคน
โรคไข้สมองอักเสบ เจอี อัตราป่วย1: 300 หลังได้รับเชื้อ 5-15 วัน ไข้สูง อาเจียน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ใช้เวลา 1-7 วัน ค่อยๆลดลง จะยังมีความผิดปกติทางสมองเหลืออยู่ มีอาการทางสมอง (ใช้เวลา 3-6 วัน)
โรคไข้สมองอักเสบ เจอี การรักษา ยังไม่มียารักษา /supportive
Nursing Diagnosis 1. Ineffective Airway Clearance related to accumulation of secretions result of damage to the muscles of swallowing. 2. Acute Pain related to injury agents (biological). 3. Risk for Aspiration related to loss of consciousness, swallowing disorders. 4. Ineffective Tissue Perfusion related to damage to transport oxygen through the alveolar and capillary membranes. 5. Risk for Injury related to an increase in muscle coordination (convulsions), irritability. 6. Imbalanced Nutrition, Less Than Body Requirements related to decreased swallowing reflexes, less intake. 7. Risk for Infection related to immune primary, invasive procedures. 8. Impaired Swallowing related to neuromuscular damage swallowing muscles. 9. Impaired Urinary Elimination related to damage to sensory motor. 10. Self Care Deficit related to weakness, illness. 11. Knowledge Deficit: about the disease and treatment related to lack of exposure to sources of information. 12. Impaired Verbal Communication related to decreased blood circulation to the brain.
Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine (ต่อ) โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง โรคหัด (Measles) โรคหัดเยอรมัน (German Measles )/Rubella โรคสุกใส (Chicken pox)
โรคหัด (Measles) เป็นโรคไข้ออกผื่น (exanthematous fever) Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง(ต่อ) โรคหัด (Measles) เป็นโรคไข้ออกผื่น (exanthematous fever) เกิดจากเชื้อไวรัส measles อยู่ในจมูก และลำคอของผู้ป่วย ภูมิคุ้มกันจากแม่หมดไปเมื่ออายุ6-9 เดือน พบมากในเด็กอายุ 1-6 ปี ระยะฟักตัว จากวันที่สัมผัสจนมีผื่นเกิดขึ้นประมาณ 14 วัน แพร่เชื้อได้ในระยะจาก 1-2 วันจากวันที่สัมผัส ก่อนที่จะเริ่มมีอาการ (3 ถึง 5 วัน ก่อนผื่นขึ้น) ไปถึงระยะหลังผื่นขึ้นแล้ว 4 วัน Air borne
อาการ มีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ และกลัวแสง Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง/Measles (ต่อ) อาการ มีไข้ น้ำมูกไหล ไอ ตาแดง ตาแฉะ และกลัวแสง อาการต่างๆ จะมากขึ้นพร้อมกับไข้สูงขึ้น และจะสูงเต็มที่เมื่อมีผื่นขึ้นในวันที่ 4 ของไข้ ลักษณะผื่นนูนแดง maculo-papular ติดกันเป็นปื้นๆ ขึ้นที่หน้า บริเวณชิดขอบผม แล้วแผ่กระจายไปตามลำตัว แขน ขา เมื่อผื่นแพร่กระจายไปทั่วตัว 2-3 วัน ไข้ก็จะเริ่มลดลง ผื่นที่ระยะแรกมีสีแดงจะมีสีเข้มขึ้น เป็นสีแดงคล้ำ หรือน้ำตาล แดง ซึ่งคงอยู่นาน 5-6 วัน กว่าจะจางหายไปหมด กินเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ บางครั้ง จะพบผิวหนังลอกเป็นขุย ในระยะ 1-2 วัน ก่อนผื่นขึ้นจะพบจุดขาวๆ เล็กๆ มีขอบสีแดงๆ อยู่ในกระพุ้งแก้ม (koplik’s spots)
complications associated with the disease Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง/Measles (ต่อ) complications associated with the disease อาการจะรุนแรงในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี Blindness Encephalitis (an infection that causes brain swelling) Severe diarrhea and related dehydration Ear infections, Severe respiratory infections such as pneumonia. อาการจะรุนแรงขึ้นในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ โดยเฉพาะ insufficient vitamin A, หรือ เด็กที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ จาก HIV/AIDS หรือโรคอื่นๆ WHO, 2017
การรักษา รักษาตามอาการ เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง/Measles (ต่อ) การรักษา รักษาตามอาการ เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
โรคหัดเยอรมัน (German Measles) สาเหตุ เกิดจากเชื้อไวรัส Rubella เป็น RNA ไวรัส ซึ่งจัดอยู่ในตระกูล Togaviridae และในกลุ่ม Rubivirus ระยะฟักตัว ประมาณ 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน การติดต่อ Direct contacted ระยะติดต่อกันได้มากคือ 2-3 วัน ก่อนมีผื่นขึ้นไปจนถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น ถ้าติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์และคลอดออกมาเป็น Congenital rubella เชื้อไวรัสจะอยู่ในลำคอและขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะได้นานถึง 1 ปี
เด็กโตต่อมน้ำเหลืองที่หลังหู ท้ายทอย และด้านหลังของลำคอโต เจ็บเล็กน้อย Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง/Measles (ต่อ) อาการ เด็กโตต่อมน้ำเหลืองที่หลังหู ท้ายทอย และด้านหลังของลำคอโต เจ็บเล็กน้อย มีอาการคล้ายเป็นหวัด ปวดหัว ไข้ต่ำๆ เจ็บคอ 1-5 วัน ผื่นจะขึ้นวันที่ 3 เป็นสีชมพูจางๆ กระจายอยู่ห่างๆ เป็นผื่นแบบแบนราบเล็กๆ (Macular rash) เริ่มที่หน้า ลามไปทั่วตัวอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง เห็น ชัดเจนที่แขนขา หายไปใน 1-2 วัน และสีผิวหนังจะกลับเป็นปกติ ในเด็กเล็กอาจมีอาการเพียงผื่นขึ้น ไม่มีไข้ ไม่มีอาการนำอื่นๆ ในเด็กอาการจะไม่รุนแรง ระวังในหญิงตั้งครรภ์ การรักษา รักษาตามอาการ
โรคสุกใส (Chicken pox) สาเหตุ Varicella virus หรือ human herpes virus type 3 การติดต่อ Direct contact & Airborne ระยะฟักตัว 10-20 วัน ระยะแพร่เชื้อ 1-2 วันก่อนผื่นขึ้นจนกระทั่งผื่นตกสะเก็ดหมด
ปอดอักเสบ และภาวะแทรกซ้อนทางสมอง Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง/โรคสุกใส (Chicken pox) (ต่อ) อาการ ไข้ต่ำๆ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ผื่นเริ่มจากลำตัว ใบหน้าและลามไปแขนขา (ลำตัวมากกว่าแขน ขา) อาจพบตุ่มขึ้นใน ช่องปากและเยื่อบุต่างๆ ได้ ลักษณะผื่นเริ่มจากผื่นแดง คัน กลายเป็นตุ่มน้ำ ตกสะเก็ด และจะหลุดหายไปในเวลา 5-20 วัน ภาวะแทรกซ้อนการ ติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง หรือติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด ปอดอักเสบ และภาวะแทรกซ้อนทางสมอง
การรักษา ให้ยาต้านไวรัส ให้ยาตามอาการ เช่น แก่คัน ลดไข้ Nursing Care of the Child of Infection Disease with vaccine/โรคที่ส่งผลต่อผิวหนัง/โรคสุกใส (Chicken pox) (ต่อ) การรักษา ให้ยาต้านไวรัส ให้ยาตามอาการ เช่น แก่คัน ลดไข้
Nursing Diagnosis Impaired social interaction related to isolation from friends. Risk for impaired skin integrity related to raking pruritus. High risk of infection related to the host and infectious agents. Acute pain related to skin lesions and irritated mucous membranes.
Goal Skin will stay clean, dry and intact. Mucous membranes will stay moist, discomfort will stay within defined tolerable range by patient. Patient will understand purpose of isolation, cooperate and be free of distress.
Nursing Interventions Isolation. Skin care. Eye care. Hydration. Temperature control.
Skin became clean, dry and intact. Evaluation Skin became clean, dry and intact. Mucous membranes stayed moist, discomfort will stay within defined tolerable range by the patient. Patient understood the purpose of isolation, cooperate and be free of distress
Nursing Care of the other Infection Disease โรคติดเชื้อไวรัสเดงกี HIV Skin infection
Dengue Virus infection สาเหตุ Dengue Virus มีอยู่ 4 สายพันธุ์ DEN 1,2,3,4 การติดเชื้อครั้งแรกมักจะมีอาการไม่รุนแรง แต่ถ้าติดเชื้อครั้งที่ 2 โดย เชื้อที่ต่างสายพันธุ์กับครั้งแรก อาการมักจะรุนแรงถึงขั้นเลือดออก หรือช็อค พบมาก ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีการติดต่อ การติดต่อ จากคนสู่คน โดยมียุงลาย (Aedes aegypt ) ตัวเมีย เป็นพาหะ
อาการแสดง แบ่งตามความรุนแรง Undifferentiated fever/ viral syndrome ไข้สูงอย่างเดียว หรือ maculopapular ร่วม ด้วย Dengue fever ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ กระดูก อาจมี break-bone fever ผื่น จุดจ้ำเลือด WBC และ Plt ต่ำ Dengue hemolagic fever (DHF); WBC, Plt ต่ำ Plasma leakess, Hct สูง การรั่วของ พลาสมามากอาจเกิดภาวะ Dendue shock syndrome; DSS
Nursing Care of the other Infection Disease โรคติดเชื้อไวรัสเดงกี การดำเนินโรคของ DHF แบ่งออกเป็น 3 ระยะ Fever stage ไข้สูง 2-7 วัน Shock stage ใช้เวลา 24-48 ชั่วโมง ไข้จะเริ่มลดลง มีการรั่วของพลาสมามากอาจ เกิดภาวะ Dendue shock syndrome; DSS อาจมีอาการมือเท้าเย็น กระสับกระส่าย, Pเร็วและเบา, BP ต่ำ, pulse pressure แคบ, bleed แบ่ง ความรุนแรงเป็น 4 เกรด เกรด 1 no bleed, unique test +ve เกรด 2 bleed ผิวหนัง/ อวัยวะอื่นๆ เกรด 3 BP ต่ำ, pulse pressure แคบ เกรด 4 วัด BP คลำ P ไม่ได้
Nursing Care of the other Infection Disease โรคติดเชื้อไวรัสเดงกี 3. Convalescent stage อาการต่างๆ จะเริ่มดีขึ้น อยากอาหาร บางรายมีผื่นแดง คัน (convalescent rash) การรักษา รักษาตามอาการ การป้องกัน วัคซีนไข้เลือดออก ในกลุ่ม 9-45 ปี (0,6,12)
Nursing Diagnosis Risk for bleeding related to possible impaired liver function. Deficient fluid volume related to vascular leakage. Pain related to abdominal pain and severe headaches. Risk for ineffective tissue perfusion related to failure of the circulatory system. Risk for shock related to dysfunction in the circulatory system.
Nursing Interventions Blood pressure monitoring. Measure blood pressure as indicated. Monitoring pain. Note client report of pain in specific areas, whether pain is increasing, diffused, or localized. Vascular access. Maintain patency of vascular access for fluid administration or blood replacement as indicated. Medication regimen. There must be a periodic review of the medication regimen of the client to identify medications that might exacerbate bleeding problems. Fluid replacement. Establish 24-hour fluid replacement needs. Managing nose bleeds. Elevate position of the patient and apply ice bag to the bridge of the nose and to the forehead. Trendelenburg position. Place the patient in Trendelenburg position to restore blood volume to the head.
Evaluation Absence of signs of bleeding. Displayed laboratory results within normal range for individuals. Maintained fluid volume at a functional level. Reported pain is relieved or controlled. Followed prescribed pharmacologic regimen. Demonstrated adequate tissue perfusion. Displayed hemodynamic stability. Afebrile and free from other signs of infection.
Nursing Care of the other Infection Disease: Pediatric HIV/ AIDS เกือบทั้งหมดเกิดจาก แม่สู่ลูก การติดเชื้อทำให้การทำงานของเซลล์เสื่อมลงและตายในที่สุด
Nursing Care of the other Infection Disease: Pediatric HIV/ AIDS การวินิจฉัยในเด็ก ตรวจหาส่วนประกอบของเชื้อ P24 Ag เป็น core protein ตรวจหาร Antibody ของเชื้อ ตรวจ Polymerase Chain Reaction: PCR อายุ 1-2 เดือน +ve 2 ครั้ง ติดเชื้อ อายุ 4 เดือน –ve 2 ครั้ง วินิจํยเบื้องต้นไม่ติดเชื้อ แต่ต้องตรวจซ้ำตอน 12 เดือน อายุ 12 เดือน ตรวจ Anti HIV ควบคู่ด้วย ถ้า +ve แต่ไม่มีอาการแสดง ให้ตรวจ 18 เดือน 18 เดือน PCR –ve, Anti HIV –ve 24 เดือน ตรวจ Anti HIV –ve ไม่ติดเชื้อ
ยาต้านไวรัส Reverse transcriptase inhibitors: รบกวนการทำงานของ transcriptase RT: Zidovudine (AZT), Stavudine (d4T), Lamivudine (3TC), Didanosine (ddl), Tenofovir (TDF) 2. Non- Reverse transcriptase inhibitor: Nevirapine(NVP), Efavirenz(EFV), Etravirine(FCT) 3. Protease inhibitor: Ritovir(RTV), Lopovir 4. Entry inhibitor: Enfuvirtide(T20), Maraviroc 5. Integrase inhibitor: Raltegravir
Skin infection มือ เท้า ปาก (Hand foot mouth) โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic dermatitis, atopic eczema) ต่อมไขมันอักเสบ (Seborrheic dermatitis) ผดร้อน เกลื้อน / กลากน้ำนม (Pityriasis alba) ผื่นแพ้ผ้าอ้อม (Diaper dermatitis)
มือ เท้า ปาก (Hand foot mouth) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสในกลุ่ม Enteroviruses droplet spread เด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี โดยเฉพาะอายุต่ำกว่า 5 ปี ไข้ ตุ่มเล็กๆ ที่ผิวหนังบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า และในปาก ควรแยกเด็กอย่างน้อย 1 สัปดาห์
โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic dermatitis, atopic eczema) โรคผิวหนังอักเสบเรื้อรังไม่ใช่โรคติดต่อ ไม่ใช่เชื้อรา หรือความสรกปรก เกิดจากร่างกายมีภูมิไวต่อสิ่ง ต่างๆ รอบตัว อาการ ผิวหนังอักเสบผิวหนังจะค่อนข้างแห้งหรือ แห้งมาก คันเรื้อรัง ตำแหน่งของโรคจะแตกต่างตามวัย มักมีอาการก่อนอายุ 5 ปี วัยทารก ผื่นแดงที่แก้ม ด้านนอกของแขนขา ข้อมือและข้อเท้า วัยเด็กโต ผื่นจะพบที่ข้อพับต่างๆ เช่น ข้อพับแขนและขาทั้งสองข้าง ที่คอ บางครั้งเกาจนเป็นปื้น มีขุยดำ หรือแห้งหนา บางครั้งถ้าเป็นมากผื่นอาจลามขึ้นได้ทั่วร่างกาย สาเหตุ ยังไม่ทราบแน่ชัด ปัจจัย โรคติดเชื้อ, สารระคายเคือง, อากาศร้อน, อาหาร การรักษา เลี่ยงสิ่งกระตุ้น ทำผิวหนังให้ชุ่มชื่น ให้ยาแก้คัน ยาทา
ต่อมไขมันอักเสบ (Seborrheic dermatitis) พบโรคนี้ในช่วง 2 เดือนแรกหลังคลอด สะเก็ดหนาสีเหลือง เป็นมันติดแน่นเป็นแผ่น เกิดจากฮอร์โมนจากแม่ที่ถ่ายทอดไปยังลูกกระตุ้นต่อมไขมันในผิวหนัง เมื่อฮอร์โมนหมดก็หาย
เกลื้อน / กลากน้ำนม (Pityriasis alba) สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด พบเพียงแต่ปริมาณเม็ดสีเมลานินที่ลดลง ลักษณะ เป็นรอยด่างเหมือนเหรียญขนาดเล็ก วงเดียวหรือหลายวง สีของรอยด่างจะจางกว่าบริเวณ ใกล้เคียง มีขุยละเอียด ไม่เจ็บ ไม่คัน ไม่ชา หน้าผาก โหนกแก้ม รอบดวงตา รอบปาก ล าคอ ลำตัว หลัง แขน ขา การรักษา ใช้ยาสเตียรอยด์ (Corticosteroid) ความเข้มข้นต่ำชนิดทา เช่น 1% Hydrocortisone ป้องกัน รักษาผิวหนังให้ชุ่มชื้น ใช้ครีมกันแดดเสมอ ใช้สบู่ที่อ่อนโยน
ผดร้อน พบได้บ่อยในเด็กแรกเกิด 2-3 สัปดาห์แรก เกิดจากท่อต่อมเหงื่อมีการอุดตันทำให้มีการการอักเสบของต่อมเหงื่อ พบได้บ่อยในเด็กแรกเกิด 2-3 สัปดาห์แรก มีลักษณะเป็นตุ่มน้ำใสเล็ก ๆ ร่วมกับอาการคัน มักพบตามซอกและรอยพับของร่างกาย การรักษา หลีกเลี่ยงอากาศร้อนและชื้น ใส่เสื้อผ้าบาง ๆ อาบน้ำให้เด็กบ่อย ๆ ทายาแก้ คัน (ถ้าคันมาก) จะหายไปภายใน 1 สัปดาห์
ผื่นแพ้ผ้าอ้อม (Diaper dermatitis) ผื่นแดงที่เกิดตามขาหนีบ และก้น บริเวณที่สัมผัสกับผ้าอ้อม สาเหตุ แพ้ ระคายเคืองจาการสัมผัสผ้าอ้อมเป็นเวลานาน หรืออาจเกิดจากสารเคมีที่ ตกค้างอยู่ ความร้อน ความชื้น เหงื่อ และการติดเชื้อรา Candida วิธีป้องกัน เปลี่ยนผ้าอ้อม รักษาความสะอาด ห้ามหมักหมม เลือกใช้ผ้าอ้อมที่มีเนื้อนิ่ม การดูแลรักษาบริเวณที่เป็นผื่นคือ ควรทำความสะอาด เช็ดให้แห้ง
Nursing Diagnosis Impaired social interaction related to isolation from friends. Risk for impaired skin integrity related to raking pruritus. High risk of infection related to the host and infectious agents. Acute pain related to skin lesions and irritated mucous membranes.
Goal Skin will stay clean, dry and intact. Mucous membranes will stay moist, discomfort will stay within defined tolerable range by patient. Patient will understand purpose of isolation, cooperate and be free of distress.
Nursing Interventions Isolation. Skin care. Hydration. Temperature control.
Skin became clean, dry and intact. Evaluation Skin became clean, dry and intact. Mucous membranes stayed moist, discomfort will stay within defined tolerable range by the patient. Patient understood the purpose of isolation, cooperate and be free of distress