ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ ครั้งที่ 12/2555 วันพุฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม 2555 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

วาระการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว   ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ สรุปผลการประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ เพื่อนำเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการ วันศุกร์ 10.00-12.00 น.

หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว   ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว สถานการณ์น้ำในเขื่อน เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณ 1-2 สัปดาห์ที่ผ่านมามีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนมากอย่างต่อเนื่อง ทำให้ระดับน้ำสูงใกล้ระดับน้ำควบคุม และคาดว่าสัปดาห์หน้าจะมีฝนตกต่อเนื่องทางด้านตะวันตกของประเทศไทย จึงเสนอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต กรมชลประทานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณาเพิ่มการระบายน้ำ ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงน้ำล้นอ่างเก็บน้ำ โดยไม่ให้ส่งผลกระทบกับพื้นที่ท้ายน้ำ เขื่อนอุบลรัตน์ ปัจจุบันมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่ต้นปีน้อย จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อสภาวะน้ำแล้ง เสนอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิต และคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำจังหวัดขอนแก่น ร่วมกันพิจารณาปรับลดการระบายให้เหมาะสม คาดการณ์สถานการณ์ฝน เฝ้าติดตามฝนตกมากช่วงวันที่ 1-7 ส.ค. 55 เนื่องจากมีร่องมรสุมพาดผ่านประเทศพม่า ลาว และเวียดนามตอนบน ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังแรง ส่งผลให้อาจเกิดฝนตกค่อนข้างมากทางด้านตะวันตกของประเทศ และภาคตะวันออก บริเวณจังหวัดจันทบุรีและตราด

หัวข้อการประชุม ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว   ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การบริหารจัดการน้ำของเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ ระยะยาว (ปัจจุบัน ถึง 1 พ.ย. 55 ) การคาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมตั้งแต่วันที่ 26 ก.ค. 55 ถึงวันที่ 1 พ.ย. 55 พบว่าเขื่อนภูมิพลจะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 5,339 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนสิริกิติ์ จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 4,434 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์จะมีปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม 2,279 ล้าน ลบ.ม. โดยปริมาณน้ำไหลเข้าของทั้ง 3 เขื่อนอยู่ในเกณฑ์น้ำปานกลาง ควรบริหารเขื่อนทั้งสามโดยมีเป้าหมาย คือให้มีปริมาณน้ำกักเก็บในเขื่อนภูมิพลไม่ต่ำกว่า 74% เขื่อนสิริกิติ์ไม่ต่ำกว่า 82% และป่าสักชลสิทธิ์ไม่ต่ำกว่า 90% เมื่อสิ้นฤดูฝน เพื่อให้เขื่อนทั้งสามแห่ง มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำในช่วงฤดูแล้งต้นปี 2556 ระยะสั้น เสนอให้ยังคงการระบายน้ำที่เขื่อนภูมิพล วันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร และลดการระบายน้ำที่เขื่อนสิริกิติ์เหลือวันละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร ตั้งแต่วันที่ 2 ส.ค. 55 เป็นต้นไป ทั้งนี้ช่วงวันที่ 5-7 ส.ค. 55 อาจจะมีการปรับเพิ่มการระบายเนื่องจากต้องการใช้น้ำเพื่อทดสอบระบบที่เขื่อนนเรศวร

สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน จากการคาดการณ์ในสัปดาห์ที่แล้ว 9 สิงหาคม 2555

แผนภาพฝนสะสมรายวัน (1 – 7 ส.ค. 55) 1 ส.ค. 55 2 ส.ค. 55 3 ส.ค. 55 4 ส.ค. 55 5 ส.ค. 55 6 ส.ค. 55 7 ส.ค. 55

ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง 7 วัน

เรดาร์พิษณุโลก ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา 1 ส.ค. 55 2 ส.ค. 55 7 ส.ค. 55 8 ส.ค. 55 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา

เรดาร์สัตหีบ ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร 1 ส.ค. 55 2 ส.ค. 55 3 ส.ค. 55 6 ส.ค. 55 ที่มา : สำนักงานฝนหลวงและการบินเกษตร

สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 46% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 7,230 ล้าน ลบ.ม. 27 ก.ค.- 8 ส.ค. 55 ระบายวันละ 8 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์ ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 47% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 5,010 ล้าน ลบ.ม. 6 - 8 ส.ค. 55 ระบายวันละ 13 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลลงอ่างอย่างต่อเนื่อง แต่มีแนวโน้มลดลง 69% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้า 2 ส.ค. 111.22 ล้าน ลบ.ม. 4 ส.ค. 102.63 ล้าน ลบ.ม. 5 ส.ค. 95.73 ล้าน ลบ.ม. 6 ส.ค. 73.30 ล้าน ลบ.ม. 7 ส.ค. 71.21 ล้าน ลบ.ม. 8 ส.ค. 69.17 ล้าน ลบ.ม. รับน้ำได้อีก 2,729 ล้าน ลบ.ม. 8 ส.ค. 55 ระบาย 27.80 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, กรมชลประทาน

สถานการณ์น้ำเขื่อนอุบลรัตน์ ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อยตั้งแต่ต้นปี 25% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสม ณ วันที่ 8 ส.ค. 55 442 ล้าน ลบ.ม. 8 ส.ค. 55 ระบาย 2.86 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, กรมชลประทาน

สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 13% (8 ส.ค.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าค่อนข้างน้อย 10 ก.ค. - 8 ส.ค. 55 ระบายวันละประมาณ 1 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน

หัวข้อการประชุม การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า   การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า 2.1 สถานการณ์ฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา, สสนก.) 2.2 สถานการณ์เขื่อน (กฟฝ., กรมชลประทาน) 2.3 สถานการณ์ลำน้ำ (กรมชลประทาน) 2.4 สถานการณ์น้ำใน กทม (กทม.) 2.5 สถานการณ์น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรมทรัพยากรน้ำ) วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 3.1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ 3.2 สรุปข้อเสนอแนะ

ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 1 สิงหาคม 2555 BK 1-11 25-31 ก.ค. 2555 BK 10 คาดการณ์ 1-7 ส.ค. 2555

ข้อมูลฝนรายสัปดาห์จากกรมอุตุนิยมวิทยา 17 17

ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนของกรมอุตุนิยมวิทยา ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนอัตโนมัติ ตำแหน่งสถานีวัดน้ำฝนอำเภอ 18 18

การใช้ข้อมูลฝนอำเภอของกรมอุตุนิยมวิทยา การใช้ข้อมูลฝนอำเภอเพื่อการพัฒนาแบบจำลองการคาดการณ์ปริมาณน้ำท่า ที่สถานี Y.1C พบว่าคุณภาพข้อมูลมีความถูกต้องสามารถนำมาใช้พิจารณาได้ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) =0.862 WBL =-0.1% 19 19

สรุป ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป สรุปสถานการณ์สมดุลน้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแต่ละพื้นที่ พร้อมข้อเสนอแนะ สรุปประเด็นสำคัญอื่นๆ สรุปสถานการณ์และข้อเสนอแนะ นำเสนอต่อที่ประชุมคณะอนุกรรมการ ประชุมคณะทำงานครั้งต่อไป วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม 2555 เวลา 13.30-16.00 น. ที่ห้องประชุม 1 ชั้น 14 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร

จบการรายงาน

22

การวิเคราะห์สมดุลน้ำในแต่ละพื้นที่ วิเคราะห์สถานการณ์น้ำความเสี่ยงน้ำท่วมด้วยแบบจำลองน้ำท่วม วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้ปริมาณน้ำขาดดุลด้วยแบบจำลองการบริหารจัดการน้ำ

การวิเคราะห์สมดุลน้ำ Block10 Schematic diagram

การวิเคราะห์สมดุลน้ำ Block11 Schematic diagram

การวิเคราะห์สมดุลน้ำรายเดือนด้วยแบบจำลอง SWAT เดือนกรกฎาคม 2555 ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน   พ.ค. มิ.ย. ก.ค. Block3 322.59 101.11 Block4 281.84 84.60

BK 3 พ.ค. 2555 BK 4 พ.ค. 2555 BK 3 มิ.ย. 2555 BK 4 มิ.ย. 2555

การประเมินผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อพืช กรมอุตุนิยมวิทยา โดยศูนย์ภูมิอากาศ ทาการวิเคราะห์ดัชนีความแห้งแล้งทางการเกษตร โดยใช้ Generalized Monsoon Index (GMI) แสดงถึงผลกระทบที่อาจเกิดแก่พืชที่กาลังเจริญเติบโต อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดแคลนความชื้น ทาให้สามารถทราบสภาวะโดยทั่วไปของพืชใช้น้าฝนที่ปลูกในฤดูมรสุม เกณฑ์ GMIpct สภาวะของพืช 0 - 20 แล้งจัด 21 - 30 แล้ง 31 - 40 ค่อนข้างแล้ง 41 - 60 ปกติ 61 - 90 ความชื้นสูงกว่าปกติ 91 - 100 ความชื้นเกินความต้องการ

คณะทำงาน คณะทำงานทำหน้าที่รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์น้ำ ประชุมทุกวันพฤหัส เวลา 13.30-16.00 น. ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วยงาน ดังต่อไปนี้ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สำนักระบายน้ำ กทม. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) 30

แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน การจำลองสภาพลุ่มน้ำ ผ่านการสร้าง Schematic diagram ข้อมุลนำเข้า เช่น ข้อมูลฝน เขื่อน การใช้น้ำต่างๆ Scenarios analysis & optimization ของเขื่อน เพื่อประโยชน์สูงสุดในการจัดสรรน้ำ ใช้แบบจำลองในการคาดการณ์สถานการณ์น้ำแล้ง-น้ำท่วม เพื่อนำไปสู่การตรวจสอบใน Mike Flood ต่อไป

แบบจำลอง Mike Basin เพื่อวิเคราะห์สมดุลน้ำในพื้นที่ชลประทาน สมดุลน้ำนอกเขตพื้นที่ชลประทานจะวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลอง SWAT โดยคำนึงถึงปริมาณฝน สภาพดิน และความต้องการใช้น้ำของพืชตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน