การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
ส่วนประกอบในร่างกาย หัว ใบหน้า ร่างกาย ปาก.
Nickle.
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
แมกนีเซียม (Magnesium).
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
โครเมี่ยม (Cr).
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่อง การบริหารร่างกายระหว่างการ ทำงาน เพื่อยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
Gas Turbine Power Plant
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
กลุ่มอาการของคนเนื่องจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อบางส่วน
ระดับความเสี่ยง (QQR)
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ปลาฉลามและนกชนิดต่างๆ
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ครูปฏิการ นาครอด.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
Scene Design and Lighting Week1-3
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
เรื่อง อันตรายของเสียง
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผ่นดินไหว.
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ระบบย่อยอาหาร.
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
Structure of Flowering Plant
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปัจจัยพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ หน่วยปฏิบัติงาน ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก หัวใจ เต้นเร็วและแรขึ้น เต้นอ่อนและช้าลง กล้ามเนื้อม่านตา กล้ามเนื้อตามแนวรัศมีหดตัวทำให้รูม่านตา (Pupil) เปิดกว้าง กล้ามเนื้อตามแนวเส้นรอบวง หดตัว ทำให้รูม่านตา (Pupil) ปิดแคบลง กล้ามเนื้อเรียบ หลอดลม และ ขั้วปอด คลายตัวออก หายใจคล่อง หดตัวเข้า หายใจไม่สะดวก อะดรีนัล เมดัลลา กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนอะดรีนาลิน -

ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก หน่วยปฏิบัติงาน ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก กระเพาะและลำไส้ ยับยั้งการเคลื่อนไหวแบบพอริสตัลซิส (Peristalsis) และห้ามการหลั่งน้ำย่อย กระตุ้นการเคลื่อนไหวแบบพอริสตัลซิส (Peristalsis) และกระตุ้นการหลั่งน้ำย่อย กระเพาะปัสสาวะ ทำให้กระเพาะปัสสาวะคลายตัวไม่ถ่ายปัสสาวะ กระตุ้นการหดตัวของกระเพาะปัสสาวะทำให้เกิดการถ่ายปัสสาวะ ต่อมเหงื่อ กระตุ้นการหลั่งเหงื่อ - ต่อมน้ำลาย สร้างน้ำเมือกทำให้เหนียวหลั่งน้ำลายน้อย สร้างส่วนที่เป็นน้ำใสหลั่งน้ำลายมาก

หมายเหตุ 1. เซลล์ประสาทสั่งการ ของระบบประสาทซิมพาเทติก ที่ไปควบคุมอะดรีนัล เมดุลลา มีเฉพาะเซลล์ประสาทสั่งการ ตัวที่ 1 2. หน่วยปฏิบัติงาน ที่มีเฉพาะระบบประสาทซิมพาเทติกไปควบคุมมี 3 อวัยวะ คือ อะดรีนัล เมดุลลา ม้าม และต่อมเหงื่อ 3. หน่วยปฏิบัติงานที่มีเฉพาะระบบประสาทพาราซิม- พาเทติกไปควบคุมมีอวัยวะเดียวคือ ตับอ่อน

แบบทดสอบวัดทักษะวิชาการ : ระบบประสาทอัตโนวัติ 1. อากัปกิริยาใดที่ถูกควบคุมด้วยระบบประสาทอัตโนมัติ 1. ตกใจหน้าซีด 2. หัวเราะชอบใจ 3. ปรบมือดีใจ 4. กระโดดโลดเต้น

2. เมื่อเดินเข้าไปในโรงภาพยนตร์ ซึ่งฉายรอบ 12. 00 น 2. เมื่อเดินเข้าไปในโรงภาพยนตร์ ซึ่งฉายรอบ 12.00 น. กล้ามเนื้อม่านตา จะทำงานลักษณะใด กล้ามเนื้อม่านตาตามแนวรัศมี กล้ามเนื้อม่านตา 1. 2. 3. 4. หดตัว คลายตัว

3. หน่วยปฏิบัติงาน (effeectors) ใดของ ANS ที่ไม่มีระบบพาราซิมพาเทติกไปควบคุม 1. หัวใจและต่อมน้ำลาย 2. อะดรีนัล เมดัลลา และต่อมเหงื่อ 3. กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็ก 4. กล้ามเนื้อม่านตา และต่อมน้ำลาย

ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก 4. เซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 (Preganglionic neuron) ของระบบประสาทซิมพาเทติกและ พาราซิมพาเทติก อยู่ตำแหน่งใด ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก 1. 2. 3. 4. ไขสันหลังส่วนอก ไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ สมอง ไขสันหลังส่วนอกและเอว ไขสันหลังส่วนเอว สมองและไขสันหลังส่วน กระเบนเหน็บ

ค = ระบบประสาทซิมพาเทติก ง = ระบบประสาทพาราซิมเทติก 5. การย่อยอาหารอยู่ใต้การทำงานของ ก = Hypothalamus ข = Medulla oblongata ค = ระบบประสาทซิมพาเทติก ง = ระบบประสาทพาราซิมเทติก 1. ก และ ค 2. ข และ ง 3. ก และ ง 4. ข และ ค

แสดงกายวิภาคของระบบประสาทใต้อำนาจจิตใจและระบบประสาทอัตโนวัติ โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาท ใต้อำนาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ 1. กายวิภาค ก. หน่วยปฏิบัติงานที่ไป ควบคุม กล้ามเนื้อลาย (Voluntary) หน่วยภายในกล้ามเนื้อเรียบและ ต่อมต่าง ๆ ข. ปมประสาทนอก CNS ไม่มี มี ค. จำนวนเซลล์ประสาท สั่งการจาก CNS มาหน่วยปฏิบัติงาน หนึ่งเซลล์ สองเซลล์ ง. ลักษณะโครงสร้างของ เส้นประสาท มีเยื่อไมอิลินหุ้ม (Myelinated) ใยประสาทของเซลล์ประสาทสั่งการ ตัวที่ 1 มีเยื่อไมอิลินหุ้ม ส่วนของเซล์ประสาทสั่งการตัวที่ 2 ไม่มีเยื่อไมอิลิน หุ้ม เซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 (Preganglionic neuron) เซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 2 (Postganglionic neuron)

โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาท ใต้อำนาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ 2. หน้าที่ ก. บทบาทที่หน่วย ปฏิบัติงาน กระตุ้น (Excite) ห้าม (Inhibit) หรือกระตุ้นได้ ข. ผลการตัดประสาท ชนิดนี้ กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต อวัยวะยังทำงานได้เอง ค. บทบาททั่วไป ปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมภายนอก ปรับสิ่งแวดล้อมภายในให้คงที่ (คงภาวะ Homeostasis)

โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาท ใต้อำนาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ 3. สารสื่อประสาทที่ใช้ Acetylcholine (Ach) ใช้ทั้ง Acetylcholine และ Norepinephrine (NE) เซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1ของระบบซิมพาเทติก เซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 และ 2 ของระบบพาราซิมเทติกจะหลั่งอะซิติลโคลีน เซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 2 ของระบบซิมพาเทติก หลั่งนอร์อะดรีนาลิน

แบบทดสอบวัดทักษะวิชาการ : เปรียบเทียบระบบประสาทใต้อำนาจจิตใจ และระบบประสาทอัตโนวัติ 1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่การแสดงของกิริยารีแฟลกซ์ 1. เมื่ออยู่ในที่มืด ๆ เดินไปเหยียบของเย็น ๆ นิ่ม ๆ จึงรีบชักเท้ากลับทันที 2. แกว่งมือไปแตะเอากาต้มน้ำร้อนที่กำลังร้อนจึงรีบชักมือกลับ 3. เติมน้ำซุปลงไปในกระทะไฟฟ้าที่มีสุกี้อยู่ แต่กระแสไฟรั่วจากกระทะจึงรีบทิ้งชามที่เติมน้ำซุปทันที 4. ขณะที่วิ่งหนีน้ำฝนที่ตกลงมาอย่างหนัก เห็นฟ้าแลบอยู่ใกล้ๆ จึงรีบยกมือขึ้นปิดหูทันที

2. ในกรณีที่นักเรียนคนหนึ่งถูกปลายเข็มจากเพื่อนๆ ที่แกล้งจิ้มที่ผิวหนัง ตัวเลือกใดต่อไปนี้แสดงวงจรของการทำงานของระบบประสาทได้ถูกต้อง 1. สิ่งเร้า  ปลายประสาท  ไขสันหลัง  สมอง 2. สิ่งเร้า  เส้นประสาท  สมอง 3. สิ่งเร้า  ปลายประสาท  ไขสันหลัง 4. สิ่งเร้า  เส้นประสาท  ศูนย์รับความรู้สึก  สมอง

3. กำหนดให้ 1 = สมอง 2 = อวัยวะรับความรู้สึก 3 = ไขสันหลัง 4 = กล้ามเนื้อเรียบ 5 = กล้ามเนื้อลาย ปฏิกิริยารีเฟลกซ์ (Reflex action) เกิดขึ้นโดยการส่งกระแสประสาทตามลำดับได้ดังตัวเลือกใด 1. 1  2  3  4 2. 2  1  3  4 3. 2  3  5 4. 2  3  4

4. จำนวนเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) จากศูนย์กลางไปยังหน่วยปฏิบัติงานของ SNS และ ANS มีกี่เซลล์เรียงตามลำดับ 1. 1 และ 1 2. 1 และ 2 3. 2 และ 1 4. 2 และ 2

5. สารสื่อประสาทที่หลั่งจาก Preganglionic neuron ทั้งของระบบซิมพาเทติก และระบบพาราซิมพาเทติก คือ 1. Acetylcholine 2. Noradrenaline 3. Adrenaline 4. Cholinesterase