กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ โครงการชุมชนจัดการสุขภาพโดยใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตามบริบทพื้นที่สู่ระบบสุขภาพอย่างยั่งยืน Service Excellence กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

การพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิจังหวัดสมุทรปราการ 1.การดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ( District Health Board : DHB) 2.การดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster :PCC ) 3.การดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว 4.การดำเนินงานงานสุขศึกษาปี 2560 5.การดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน 6.การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล(HA)

งบประมาณดำเนินงาน ปี60

โครงการชุมชนจัดการสุขภาพ 1. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว 2. ร้อยละของรพสต.ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพรพ.สต.ติดดาว ที่ ชื่อโครงการ INPUT เป้าหมาย 1 โครงการชุมชนจัดการสุขภาพ โดยใช้แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามบริบทพื้นที่สู่ระบบสุขภาพอย่างยั่งยืน ตั้งไว้ 257,000 บ. ใช้จริง 223,309 บ. งบ สป = 98.5 % PCCทุกแห่ง รพ.สต.ทุกแห่ง  

ร้อยละครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ชื่อโครงการ INPUT เป้าหมาย 2 โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด(เสริมสร้างสุขภาพอนามัยและพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน) งบประมาณ 5.5 ล้าน ใช้จริง 5,416,450 บาท งบพัฒนาจังหวัด = 98.4 % 504 หมู่บ้าน 3 โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม./อสค. งบกรมสนับสนุน 360,000 บาท ใช้จริง 360,000 บาท = 100 % อสค. 6,816 คน อสม.นักจัดการ 600 คน

ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล( HA) ชื่อโครงการ INPUT เป้าหมาย 4 โครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล( HA) งบ สป 50,700 บาท ใช้จริง 49,950 บาท = 98.5 % รพ.ทุกแห่ง รพ.สต.ในแต่ละอำเภอผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ 5 โครงการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการด้านสาธารณสุข(กิจกรรมงานด้านสุขศึกษา) งบ สป 129,600 บาท ใช้จริง 112,699 บาท = 86.95 % รพ.สต.เป้าหมาย

การดำเนินงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (District Health Board : DHB) (พอช.) อำเภอบางพลี พื้นที่ต้นแบบ ปี 2559 อำเภอเมือง พื้นที่ต้นแบบ ปี 2560 แผนพัฒนา 2 เรื่อง - การส่งเสริมพัฒนาการเด็ก - การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน ขาดข้อมูลที่เป็นปัญหาคุณภาพชีวิตไม่เชื่อมโยงกันทั้งอำเภอ ขาดความเชื่อมต่อของคณะกรรมการตั้งแต่ ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ ขาดการขับเคลื่อนงานที่ต่อเนื่อง งบประมาณได้รับการจัดสรร ไม่ได้ดำเนินงานตามกิจกรรม ในโครงการ

กรอบแนวทางการดำเนินงาน พอช. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระบบสุขภาพอำเภอ(DHB) ประเด็นงานตามปัญหาพื้นที่ UCCARE ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ประเมินผลโดยใช้ DHS-PCA ดำเนินงานทุกอำเภอ ประเมินผ่าน 3 อำเภอ

จังหวัดสมุทรปราการ ปี 2560 การดำเนินงาน จังหวัดสมุทรปราการ ปี 2560

พัฒนาต้นแบบ PCC เขตเมืองระดับประเทศ PCCบางแก้ว อำเภอบางพลี

การดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว 1.การสนับสนุนการดำเนินงานของแม่ข่าย ด้านระบบการสนับสนุนและด้านวิชาการ ใช้ Starter kit ในทีมFCT 6 แห่ง (ราชา ภานุรังสี บางด้วน เทพารักษ์ ปู่เจ้า บางแก้ว) มีการพัฒนาทีม FCT โดยกระบวนการ CBL เป็นที่เรียนรู้PCCอื่น 2.การจัดระบบบริการ สมุทรปราการโมเดล พัฒนาโครงสร้างทีมหมอครอบครัว ที่เป็นเครือข่าย เชื่อมต่อถึงครอบครัว 3.การจัด Service Package 5 กลุ่มวัยดูแล โดย FCT ทุกทีม 4.จัดระบบ Line ในการติดต่อสื่อสารในและระหว่างทีม 5.ระบบส่งต่อ ใช้ ระบบ green channel Thai refer COC

ปัญหาการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว การจัดการข้อมูลยังไม่ครบถ้วน ไม่ครอบคลุม ตามกลุ่มเป้าหมาย ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ และขาดการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของพื้นที่ ขาดการสนับสนุนการดำเนินงานจาก CUP เช่น บุคลากรทาง การแพทย์ , เครื่องมือทางการแพทย์ หน่วยบริการปฐมภูมิขาดความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจนในการ ดำเนินงาน PCC

แผนการดำเนินงานปี 2561 ประเมินผลและถอดบทเรียน PCC 3 แห่งที่ดำเนินการแล้ว พัฒนาสมรรถนะบุคลากร ด้านสหเวชศาสตร์ครอบครัว ในกลุ่มนักสหเวชศาสตร์ชุมชน และ อสม.พนักงาน สหเวชศาสตร์ชุมชน ด้วยชุด Starter kit /อบรม เสริมความรู้ ตามส่วนขาด ขยายเครือข่ายนักสหเวชศาสตร์ให้ครอบคลุม ทุกทีมในชุมชน

การพัฒนา รพ.สต.ติดดาวจังหวัดสมุทรปราการ 1.จัดตั้ง ทีมพัฒนาคุณภาพ ระดับจังหวัด 2.พัฒนา ทีมคุณภาพ รพ.สต.ระดับจังหวัด/อำเภอ 3.ติดตามประเมิน ผลงานตามเกณฑ์ทุกรพ.สต. 4.คัดเลือก รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด เพื่อเป็นตัวแทน ระดับเขต 5.พัฒนา ให้เป็นต้นแบบ ระดับเขต ผลการพัฒนารพ.สต.ติดดาว เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว > 10 % ผลการประเมิน ผ่านเกณฑ์ 5 ดาว 10 แห่ง คิดเป็น 14 .28 % รพสต. ติดดาวระดับเขต * รพ.สต. บางแก้ว อำเภอบางพลี

ปัญหาการดำเนินงาน 1. เกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ปรับบ่อย ขาดความชัดเจน 2. เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต.ติดดาว 3. ระบบข้อมูลของ รพ.สต. ขาดข้อมูลทะเบียนครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน ไม่มีการคืนข้อมูลให้พื้นที่ 4. ขาดการสนับสนุนการดำเนินงานจากสหวิชาชีพของแม่ข่าย ทั้งระบบสนับสนุน และด้านวิชาการ

แผนปี 2561 ประชุมชี้แจงเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต. ปี 2561 อบรม ครู ก และ ครู ข เป้าหมาย ปี 2561 : รพ.สต.ผ่านเกณฑ์รพ.สต.ติดดาว ร้อยละ 25 ประชุมชี้แจงเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต. ปี 2561 อบรม ครู ก และ ครู ข ตั้งทีมพัฒนา/ประเมิน ระดับจังหวัด และอำเภอ เพื่อสร้างระบบ การสนับสนุนตามบทบาทแม่ข่าย รพ.สต. ประเมินตนเองและพัฒนาตามส่วนขาด ประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับเขต ถอดบทเรียนในการพัฒนา รพ.สต.ติดดาว ปี 2561

การดำเนินงานสุขศึกษาปี 2560 เป้าหมาย รพศ.รพท.รพช.ทุกแห่ง ผ่านเกณฑ์ระบบบริการสุขภาพ(ด้านสุขศึกษา)ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมินไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผลงานการดำเนินงาน รพศ.รพท.รพช.ทุกแห่งผ่านเกณฑ์ระบบบริการสุขภาพ(ด้านสุขศึกษา)ร้อยละ70 หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ70

การดำเนินงานงานสุขศึกษาปี 2560 ปัญหาอุปสรรค ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานองค์กรท้องถิ่นและองค์กรเอกชน ประชาชนจะให้ความสำคัญในเรื่องเศรษฐกิจมากกว่า เรื่องสุขภาพ ปัจจัยความสำเร็จ ความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการดำเนินงาน

แผนการดำเนินงานงานสุขศึกษาปี 2561 พัฒนาศักยภาพจนท.สาธารณสุขหลักสูตร นักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่อสม. การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มวัยเรียน/ วัยทำงาน

Healthy literacy จาก Role Model รพ.สต. 1 – 6 เดือน FCT FCT FCT อสม. อสม. คัดกรอง NCD ปกติ เสี่ยง ป่วย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Healthy literacy อสม. อสม. เกิดกระบวนการเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบและจากกลุ่ม กสค. กสค. กสค. อสม.ใช้กระบวนการเรียนรู้จากกลุ่มมาปฏิบัติกับ กลุ่ม อสม/อสค. 6 – 12 เดือน *****เป้าหมาย รพ.สต.ละ 1 ทีม เป็นอย่างน้อย (FCT 1 ทีม / อสม. 1 ทีม)

เป้าหมาย 504 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน : 100% การดำเนินงานหมู่บ้านจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย เชื่อมโยง Service plan และหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป้าหมาย 504 หมู่บ้าน ผลการดำเนินงาน : 100% 1.ภาคีเครือข่ายไม่เข้มแข็ง 5 % 2.แผนงานโครงการจากหมู่บ้านจัดการ ไม่ได้รับการสนับสนุน จาก อปท. 3.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขบางพื้นที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการหมู่บ้านจัดการ

แผน ปี 2561 1.พัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพตำบลและอำเภอ ( เช่น SRM ,ธรรมนูญตำบล, UCARE) 2.ขยายตำบลต้นแบบ/หมู่บ้านต้นแบบระบบจัดการสุขภาพชุมชนที่เข้มแข็ง

โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม./อสค. เป้าหมาย : อสม. 7,800 คน อสค. 6,800 คน ผลงาน : อบรมฟื้นฟูความรู้ อสม. พัฒนาศักยภาพ อสค.และประเมินผล ปัญหาอุปสรรค การค้นหากลุ่มเป้าหมาย อสค.มีความล่าช้า - การส่งข้อมูลเข้าในระบบฐานข้อมูล - ผู้ป่วยไม่มีญาติต้องหาเพื่อนบ้านมาเป็นอสค. ผู้สมัครเป็น อสม.ใหม่ มีน้อย

Engine: Inclusive Growth Engine (การลดความเหลื่อมล้ำ เน้นการ อสม.4.0 สมุทรปราการ Engine: Inclusive Growth Engine (การลดความเหลื่อมล้ำ เน้นการ กระจายประโยชน์สู่ประชาชน) Final Goal: อสม. เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยโรค Stroke และ โรค Stemi Final Goal อสม.มีความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วย Stroke และ โรคStemi Goal -อสม.เชี่ยวชาญฯ 600 คน -อสค. 6,500 คน 2561 2565 Action 1. บูรณาการทำงานกับ NCD PCC 2. ใช้ App คลังความรู้ อสม. 3. ใช้ App. สนับสนุนการ ทำงาน อสม. เช่น องค์ความรู้ HL,สมุนไพร การเฝ้าระวังโรค การประเมินความสี่ยง คัดกรอง DM/ HT 4.สร้างกลุ่มLine เพื่อสื่อสารกับกลุ่ม อสม./อสค. 5.พัฒนา อสค. /อบรม อสม. ต่อเนื่อง

พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล เป้าหมาย : รพศ. /รพท. / รพช. ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ผลงาน : ผ่านเกณฑ์คุณภาพ HA QA Lab X-ray ร้อยละ 100 ปัญหาอุปสรรค 1.ขาดการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาคุณภาพรับรอง 2.จนท.ยังมีองค์ความรู้ไม่เพียงพอในการปฎิบัติงาน 3.จนท.ไม่เพียงพอกับเกณฑ์ในการประเมินพัฒนาระบบคุณภาพ

แผนปี 2561 และ รพ.บางบ่อ เตรียมการประเมินHA รพ.บางเสาธง Re-Accredit ครั้งที่2 - รพท.สมุทรปราการ และ รพ.บางบ่อ เตรียมการประเมินHA รพ.บางเสาธง