คดีปกครอง : การบริหารงานบุคคลของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คดีปกครอง : การบริหารงานบุคคลของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ นายวชิระ ชอบแต่ง ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองกลาง

ขอบเขตการนำเสนอ ๑. ภาพรวมของการบริหารงานบุคคล ๒. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ๓. คำพิพากษาในคดีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ๔. ตัวอย่างคดีปกครองที่น่าสนใจ ๕. คำถาม/ความเห็น

๑. ภาพรวมของการบริหารงานบุคคล ความหมาย ประเภทของการบริหารงานบุคคล

ความหมาย “กระบวนการดำเนินงานเกี่ยวกับบุคคลภายในหน่วยงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งบุคคลที่มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับ ความต้องการของหน่วยงาน การบำรุงรักษา การพัฒนา ตลอดจนการให้พ้นจากงานเพื่อให้หน่วยงานบรรลุเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ โดยความพึงพอใจของบุคคลในหน่วยงาน”

ประเภทของการบริหารงานบุคคล การจัดหาบุคลากร การบำรุงรักษาบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การให้พ้นจากงาน

การจัดหาบุคลากร การประกาศรับสมัคร/รับโอน การประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิสอบ/การโอน การจัดสอบ การประกาศผลการคัดเลือก

การบำรุงรักษาบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติราชการ การเลื่อนตำแหน่ง/การขึ้นเงินเดือน การมอบหมายงาน การกำหนดค่าตอบแทน การย้าย

การพัฒนาบุคลากร การคัดเลือกผู้ได้รับทุน การให้ทุนวิจัย การส่งไปฝึกอบรม การส่งไปศึกษาดูงาน

การให้พ้นจากงาน การย้าย/การโอน การลาออก การให้ออกจากราชการไว้ก่อน การถูกลงโทษทางวินัย การเสียชีวิต การเกษียณอายุ

สรุปภาพรวมของการบริหารงานบุคคล การใช้อำนาจตามกฎหมายเข้ามาเกี่ยวข้อง ผู้ได้ประโยชน์และผู้เสียประโยชน์ ลักษณะของข้อพิพาทที่เกิดขึ้น การนำคดีมาฟ้องศาล การปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาล

๒. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ กฎหมายว่าด้วยการบริหารงานของตำรวจโดยเฉพาะ ประกอบด้วย ๑๒๘ มาตรา ๗ ลักษณะ อำนาจหน้าที่ การจัดแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการ ยศและชั้นเลื่อน ขั้นเงินเดือน เงินเดือน เงินประจำตำแหน่งและเงินเพิ่มอื่น การรักษา ราชการแทน และการปฏิบัติราชการแทน วินัยและการรักษาวินัย การดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ การร้องทุกข์ เครื่องแบบตำรวจ กองทุนเพื่อ การสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา บทเฉพาะกาล

การใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ การออกกฏ การออกคำสั่งทางปกครอง การเชื่อมโยงกับกฏหมายอื่นๆ

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ “กฎหมายกลาง” หรือ “กฏหมายทั่วไป” สำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางในการออกคำสั่งทางปกครอง หลักเกณฑ์ที่ประกันความเป็นธรรม มาตรฐานในการปฏิบัติราชการ

สาระสำคัญของพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ ๒๕๓๙ ผู้มีอำนาจพิจารณาเรื่องทางปกครอง (เจ้าหน้าที่) “องค์กรเดี่ยว” หรือ “องค์กรกลุ่ม” “หลักความเป็นกลาง” ผู้มีส่วนร่วมในการพิจารณาทางปกครอง (คู่กรณี) “สิทธิของ คู่กรณี”

หลักความชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง อำนาจขององค์กรฝ่ายปกครอง กระบวนการของขั้นตอน ความถูกต้องของการใช้ดุลพินิจ

ความเกี่ยวข้องระหว่างกฎหมายทั้งสองฉบับ การออกคำสั่งทางปกครองในกรณีต่างๆ การนำหลักกฎหมายจาก พรบ.วิปค.มาใช้ กรณีตัวอย่าง

พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ การกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก “การปฏิบัติหน้าที่” หรือ “มิใช่การปฏิบัติหน้าที่” การกระทำละเมิดต่อหน่วยงาน “เจ้าหน้าที่คนเดียว” หรือ “เจ้าหน้าที่หลายคน”

ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ กระทำโดยจงใจ กระทำโดยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง การออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้เงิน

ความเกี่ยวข้องของกฎหมายทั้ง ๒ ฉบับ ความรับผิดชดใช้เงินจากการออกกฎ หรือออกคำสั่ง ความไม่ชอบด้วยกฎหมายในการออกกฎหรือคำสั่ง กรณีตัวอย่าง

พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ประเภทคดีที่อาจถูกฟ้องต่อศาลปกครอง “การออกกฎ” หรือ “คำสั่งทางปกครอง” “การปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า หรือ ละเลย” “การกระทำละเมิด” ฯลฯ

ความเกี่ยวข้องของกฎหมายทั้ง ๒ ฉบับ การตรวจคำฟ้อง (กรณีตัวอย่าง) การจัดทำคำให้การ

ข้อสังเกตในการตรวจคำฟ้อง การทำความเข้าใจเบื้องต้น การยกเหตุผลความไม่ชอบด้วยกฎหมาย คำขอของผู้ฟ้องคดี พยานหลักฐานที่แนบมาพร้อมกับคำฟ้อง

ข้อสังเกตในการจัดทำคำให้การ การวางกรอบคำให้การ คำให้การในประเด็นที่ถูกฟ้อง การแก้ข้อกล่าวหา/ข้ออ้างในคำฟ้อง สรุปให้ชัดเจน

กระบวนการพิจารณาคดีของศาลปกครอง โดยสรุป การฟ้องคดี การแสวงหาข้อเท็จจริงของศาล การนั่งพิจารณาคดีครั้งแรก การจัดทำคำพิพากษา

๓. คำพิพากษาในคดีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การสั่งให้เพิกถอนกฎหรือคำสั่ง การสั่งห้ามการกระทำทั้งหมดหรือบางส่วน การสั่งให้หัวหน้าหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติ การสั่งให้ใช้เงิน/ส่งมอบทรัพย์สิน การสั่งให้กระทำการ/งดเว้นกระทำการ

องค์ประกอบของคำพิพากษา ชื่อผู้ฟ้องคดี / หน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้อง เหตุ / ข้อเท็จจริงที่ฟ้อง เหตุผลแห่งคำวินิจฉัย คำวินิจฉัยของศาล คำบังคับ ข้อสังเกต

การกำหนดเงื่อนไขในการสั่งให้เพิกถอนกฎหรือคำสั่งหรือสั่งห้ามการกระทำทั้งหมดหรือบางส่วน ให้มีผลย้อนหลัง ไม่ย้อนหลัง มีผลไปในอนาคต กำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ ทั้งนี้เพื่อความเป็นธรรมแก่กรณี

เหตุของความไม่ชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครอง กระทำโดยไม่มีอำนาจ กระทำโดยไม่ถูกต้องตามขั้นตอน ฯลฯ กระทำโดยใช้ดุลพินิจไม่ชอบ (กรณีตัวอย่าง)

การปฏิบัติตามคำพิพากษาของศาลปกครอง คำบังคับ ข้อสังเกต การบังคับคดี

การดำเนินการของฝ่ายปกครองตามคำพิพากษา กรณีศาลพิพากษาให้เพิกถอนกฎหรือคำสั่ง กรณีศาลพิพากษาให้กระทำการ/งดเว้นกระทำการ กรณีศาลพิพากษาให้ชดใช้เงิน/ส่งมอบทรัพย์สิน

ข้อสังเกต ภาพรวมของคำพิพากษา เหตุผลของศาลในการวินิจฉัยประเด็นแห่งคดี คำบังคับ ข้อสังเกตของศาลในคำพิพากษา การดำเนินการตามคำพิพากษา การบังคับคดี ปัญหาที่เกิดขึ้น

๔. ตัวอย่างคดีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล อ. ๑๑๖/๒๕๕๕๙ (การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนไม่ชอบ) กรณีตำรวจถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดอาญาฐานลักทรัพย์และได้มีคำสั่งไล่ออกจากราชการ ผู้ที่มีอำนาจตั้งคณะกรรมการสอบสวนจึงต้องเป็นไปตามที่ระเบียบกฎหมายกำหนด การที่ผู้กำกับฯ เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนจึงเป็นการกระทำโดย ไม่มีอำนาจ คำสั่งไล่ออก/ยกอุทธรณ์ ย่อมไม่ชอบตามไปด้วย ศาลพิพากษาให้เพิกถอนคำสั่งดังกล่าวนับแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษา (มีข้อสังเกต)

ข้อสังเกต อ.๑๑๖/๒๕๕๙ อำนาจที่สำคัญ การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนถือเป็นขั้นตอนเริ่มต้นการใช้ อำนาจที่สำคัญ กฎหมายกำหนดไว้อย่างชัดเจนในการแต่งตั้งบุคคล วางหลักประกันความเป็นธรรมแก่ผู้ถูกสอบสวน บทบัญญัติว่าด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน การกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษาว่ามีผลย้อนหลัง/ไม่มีผลย้อนหลัง

อ.๓๓/๒๕๕๗ (การออกคำสั่งโดยใช้ดุลพินิจไม่ชอบ) - (มีความเห็นแย้ง) อ.๓๓/๒๕๕๗ (การออกคำสั่งโดยใช้ดุลพินิจไม่ชอบ) - (มีความเห็นแย้ง) กรณีการโอนเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติให้มาดำรง ตำแหน่งที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี เมื่อพิจารณาเหตุผลใน การโอนแล้ว เห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร ถือเป็นการออกคำสั่ง ที่ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ จึงให้เพิกถอนประกาศดังกล่าว ย้อนหลังไปถึงวันที่ประกาศมีผลใช้บังคับ (มีข้อสังเกต) ความเห็นแย้ง : ให้มีผลเมื่อครบกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันที่มีคำ พิพากษา

ข้อสังเกต อ.๓๓/๒๕๕๗ (คำพิพากษา) ข้อพิจารณาเกี่ยวกับความไม่ชอบด้วยกฎหมายเรื่องดุลพินิจ โครงสร้างของบทบัญญัติกฎหมาย อำนาจที่กฎหมายมอบให้ฝ่ายบริหาร อำนาจผูกพันและอำนาจดุลพินิจ ดุลพินิจวินิจฉัยและดุลพินิจตัดสินใจ

ข้อสังเกต อ.๓๓/๒๕๕๗ (เหตุผลของการกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษา) ข้อสังเกต อ.๓๓/๒๕๕๗ (เหตุผลของการกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษา) ตามคำพิพากษา อำนาจของศาลปกครองตามมาตรา ๗๒ วรรคสอง เพื่อเป็นการเยียวาความเดือดร้อนหรือเสียหายของผู้ฟ้องคดี

ข้อสังเกต อ.๓๗/๒๕๕๗ (เหตุผลของการกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษา) ข้อสังเกต อ.๓๗/๒๕๕๗ (เหตุผลของการกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษา) ตามความเห็นแย้ง อำนาจของศาลปกครองตามมาตรา ๗๒ วรรคสอง การรักษาดุลยภาพระหว่างประโยชน์ของผู้ฟ้องคดีกับประโยชน์ สาธารณะและการบริหารราชการแผ่นดิน (หลักกฎหมายทั่วไป)

ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดเงื่อนไขในคำพิพากษา กรณีเพิกถอนกฎหรือคำสั่ง มีผลย้อนหลังไปถึงวันที่กฎหรือคำสั่งนั้นมีผลใช้บังคับ หลักการกระทำทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย หน้าที่ของฝ่ายปกครองตามคำพิพากษา ปัญหาที่เกิดขึ้น (เกษียณแล้ว เจ็บป่วย ตำแหน่งเดิมมีคนแทน) ความเสียหายของผู้ฟ้องคดี ปัญหาอุปสรรคต่อการบริหารราชการแผ่นดิน

ข้อพิจารณา (ต่อ) แก้ไขเรื่องผลกระทบต่อนิติฐานะ มีผลไปในอนาคต แก้ไขเรื่องผลกระทบต่อนิติฐานะ การคุ้มครองสิทธิของบุคคลผู้สุจริต ป้องกันผลกระทบต่อการกระทำทางปกครองก่อนศาลเพิกถอน เปิดโอกาสให้ฝ่ายปกครองดำเนินการให้ถูกต้อง

อ. ๒๑/๒๕๕๐ (การเพิกถอนคำสั่งและให้สอบสวนใหม่) กรณีศาลเพิกถอนคำสั่งลงโทษทางวินัย โดยเห็นว่าฝ่ายปกครอง ไม่ได้ดำเนินการให้ถูกต้องตามขั้นตอน วิธีการอันเป็นสาระสำคัญ และให้ฝ่ายปกครองไปดำเนินการสอบสวนใหม่ให้ถูกต้อง (กำหนดไว้ในคำพิพากษา) (อ.๑๕๒/๒๕๕๐ อ.๒๑๐/๒๕๕๒) ข้อสังเกตเรื่องการกำหนดเงื่อนไขของการเพิกถอน

ข้อสังเกตกรณีศาลเพิกถอนเนื่องจากกระบวนการ สอบสวนไม่ชอบ ข้อสังเกตกรณีศาลเพิกถอนเนื่องจากกระบวนการ สอบสวนไม่ชอบ การกระทำทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายมีหลายกรณี กรณีเกิดจากกระบวนการ/ฝ่ายปกครองชอบที่จะดำเนินการให้ถูกต้อง คำพิพากษาศาลกำหนดเงื่อนไขเรื่องการมีผลของคำพิพากษาคดี (มีผลย้อนหลัง,มีผลในวันที่ศาลมีคำพิพากษา,มีผลในอนาคต) ข้อสังเกต เรื่องการวินิจฉัยเกี่ยวกับกากระทำความผิด

อ. ๑๑๐/๒๕๕๗ (การเพิกถอนคำสั่งลงโทษปลดออก) กรณีตำรวจถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงจากการที่ เมื่อมีการจับกุมผู้ต้องหามาแล้ว แต่ไม่ได้มีการลงบันทึกประจำวัน และสอบสวน ต่อมาผู้ต้องหาได้หลบหนี และได้ถูกลงโทษปลดออก

ข้อสังเกต กรณีศาลเพิกถอนคำสั่งลงโทษปลดออก การรับฟังพยานหลักฐาน กรณีมีผู้เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดหลายคน การแยกการกระทำความผิดของผู้ที่ถูกกล่าวหาแต่ละราย การนำหลักสัดส่วนมาพิจารณา

๕. คำถาม/ความเห็น

จบการบรรยาย