รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 28 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 28 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา 8. 00 น. www รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 28 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา 8.00 น. www.thaiwater.net/hourlyreport และ www.nhc.in.th 1

สถานการณ์ปัจจุบัน ไม่มีพายุ กลุ่มเมฆฝน มีกลุ่มเมฆปกคลุมหนาแน่นบริเวณด้านตะวันตก ของประเทศ ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา มีฝนตกกระจาย บริเวณภาคเหนือ และมีฝนตกหนักบริเวณด้านตะวันตกของ ประเทศ ตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค ตะวันออก โดยมีปริมาณฝนตกสะสม 3 วันสูงสุด อยู่ที่ จ. ตราด ต.แหลมกลัด วัดได้ 203 มิลลิเมตร ระดับน้ำในแม่น้ำสำคัญ ระดับน้ำบริเวณภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบน และ ภาคใต้ ยังอยู่ในเกณฑ์น้อยถึงน้อยวิกฤต ความเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา ความเค็มที่สถานีสูบน้ำสำแล 0.37 กรัม/ลิตร เกินเกณฑ์ความเค็มมาตรฐานน้ำดิบเพื่อผลิต น้ำประปา 0.25 กรัม/ลิตร (ความเค็มสูงสุดเมื่อ 5.00 น. 0.58 กรัมต่อลิตร) 2

สถานการณ์ปัจจุบัน อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่วันที่ 27 มิ.ย. 58 ปริมาณน้ำกักเก็บรวมทั้งประเทศเหลืออยู่ 46% โดยทั้งนี้กรมชลประทานได้ปรับลดการระบายน้ำเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยฯ และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เพื่อให้มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อการใช้น้ำในฤดูฝนนี้ เขื่อนภูมิพล มีปริมาณน้ำกักเก็บคงเหลือ 30% น้ำใช้การได้จริงเพียง 280 ล้าน ลบ.ม. โดยต้องเก็บน้ำไว้สำรองความมั่นคงทางด้านพลังงานอีก 163 ล้าน ลบ.ม.เมื่อวานนี้มีน้ำไหลอ่างฯ อยู่ที่ 2.25 ล้านลบ.ม. สถานการณ์น้ำอยู่ในภาวะน้อยวิกฤต ปัจจุบันระบายน้ำวันละ 8 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำกักเก็บคงเหลือ 36% เป็นน้ำใช้การได้จริง 529 ล้าน ลบ.ม. โดยต้องเก็บน้ำไว้สำรองความมั่นคงทางด้านพลังงานอีก 119 ล้าน ลบ.ม. เมื่อวานนี้มีน้ำไหลอ่างฯ อยู่ที่ 3.36 ล้านลบ.ม.สถานการณ์น้ำอยู่ในเกณฑ์น้อย ปัจจุบันระบายน้ำวันละ 18.12 ล้าน ลบ.ม. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ มีปริมาณน้ำกักเก็บคงเหลือ 7% เป็นน้ำใช้การได้จริง 63 ล้าน ลบ.ม. เมื่อวานนี้ไม่มีน้ำไหลลงอ่างฯ สถานการณ์น้ำอยู่ในเกณฑ์น้อย ปัจจุบันระบายน้ำวันละ 1.36 ล้าน ลบ.ม. 3

การคาดการณ์ฝนและความสูงคลื่นทะเล คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ 28-30 มิ.ย. 58 มรสุมตะวันตก เฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าว ไทย ได้ยังคงมีกำลังแรง ทำให้บริเวณตอนบนของประเทศ ยังคงมีฝนกระจายปานกลางถึงหนัก และอาจมีฝนตกหนักถึง หนักมากในบางพื้นที่โดยเฉพาะด้านตะวันตกของประเทศ ภาคกลาง และภาคตะวันออก คาดการณ์ฝน ช่วงวันที่ 1 – 4 ก.ค. 58 ประเทศไทย ตอนบนอาจมีปริมาณฝนอาจลดลง แต่ยังคงมีฝนตกปานกลางถึงหนักทางด้านตะวันตกของ ประเทศ ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน คาดการณ์คลื่น ช่วงวันที่ 28-30 มิ.ย. 58 อิทธิพลจาก มรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้กำลังแรง ส่งผลให้คลื่นลมฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทยตอนบนมีคลื่น สูง 1-2 เมตร 4

เส้นทางพายุและภาพถ่ายจากดาวเทียม MTSAT-2 วันที่ 28 มิ.ย. 58 เวลา 07.00 น. 5 5

ปริมาณฝนสะสม 24 ชั่วโมงย้อนหลังสูงสุด วันที่ 28 มิ.ย. 58 เวลา 08.00 น. 6

สถานการณ์ระดับน้ำในแม่น้ำสายสำคัญ (28 มิ.ย. 58) ระดับน้ำบริเวณภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบนและภาคใต้ อยู่ ในเกณฑ์น้อยถึงน้อยวิกฤต 7

ปริมาณน้ำกักเก็บในอ่างขนาดใหญ่ (27 มิ.ย. 58)

ค่าความเค็มบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา (28 มิ.ย. 58) ค่าความเค็มบริเวณแม่น้ำเจ้าพระยา (28 มิ.ย. 58) สถานีสำแล เวลา 08.00 น. สถานีสะพานพระนั่งเกล้า 9 ที่มา: การประปานครหลวง

การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF-ROMS (ความละเอียด 3x3 กม 28 มิ.ย. 58 29 มิ.ย. 58 30 มิ.ย. 58 ที่มา: สสนก. 10

การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF-ROMS (ความละเอียด 9x9 กม 1 ก.ค. 58 2 ก.ค. 58 3 ก.ค. 58 4 ก.ค.58 11 11

คาดการณ์ความสูงและทิศทางคลื่นทะเลบริเวณอ่าวไทยและอันดามัน 28 มิ.ย. 2558 7.00 น. 19.00 น. 29 มิ.ย. 2558 30 มิ.ย. 2558 7.00 น. 19.00 น. 7.00 น. 19.00 น. ที่มา: สสนก. 12

ปัจจัยที่ใช้ในการคาดการณ์ฝนรายฤดูกาล ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุม Indian Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย Western Pacific Monsoon Index - ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก Madden-Julian Oscillation (MJO) - ความผันแปรของลักษณะอากาศในเขตร้อน พบว่า ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย ปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติเล็กน้อย ทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะยังคงมีกำลังแรง ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ Oceanic Niño Index (ONI) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก Pacific Decadal Oscillation Index (PDO) - บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ Dipole Mode Index (DMI) - บริเวณมหาสมุทรอินเดีย พบว่า ดัชนี ONI PDO และ DMI ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 โดยจะมีปริมาณฝนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประมาณ 7 เปอร์เซ็นต์

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดีย สูงกว่าปกติเล็กน้อย ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียของปี 2558 มีค่าสูงกว่าปกติตั้งแต่ต้นปี และมีค่าสูงขึ้นในช่วงเดือนมิถุนายน ปัจจุบันดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรอินเดียสูงกว่าค่าปกติเล็กน้อย ทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ยังคงมีกำลังค่อนข้างแรง ส่งผลให้ในระยะ 2-4 สัปดาห์จะยังมีฝนตกหนาแน่นบริเวณด้านรับลมมรสุม โดยเฉพาะบริเวณด้านตะวันตกของประเทศ

ปัจจัยระดับท้องถิ่น: ดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิก สูงกว่าปกติ ปัจจุบันดัชนีมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิกมีค่า ใกล้เคียงค่าปกติ ลมมรสุมด้านมหาสมุทรแปซิฟิกจะไม่ส่งผลต่อปริมาณฝนของประเทศไทย

ปัจจัยระดับภูมิภาค: ดัชนีสมุทรศาสตร์ ONI= +0.68 IOD = +0.19 PDO = +1.20 Source http://www.ospo.noaa.gov/Products/ocean/sst/anomaly/index.html ONI: http://www.cpc.ncep.noaa.gov/products/analysis_monitoring/ensostuff/ensoyears.shtml PDO: http://jisao.washington.edu/pdo/PDO.latest IOD: http://www.jamstec.go.jp/frcgc/research/d1/iod/DATA/dmi.monthly.ascii ดัชนี PDO ยังคงสภาพเป็นบวก ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +1.20 (เดือนก่อนหน้าเป็น +1.44) ดัชนี ONI (ENSO) มีสภาพเป็นบวกหรือเอลนีโญอ่อนๆ ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.68 (เดือนก่อนหน้าเป็น +0.51) ดัชนี DMI (IOD) มีสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ +0.19 (เดือนก่อนหน้าเป็น -0.07) ดัชนี > 0.5 แนวโน้มปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ดัชนี <-0.5 แนวโน้มปริมาณฝนมากกว่าปกติ Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนเมษายน บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Oceanic Niño Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (กุมภาพันธ์-มีนาคม-เมษายน) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนมีนาคม บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ 90-110E, 10oS-0oN 16

จัดกลุ่มปีที่มีดัชนีระดับภูมิภาคใกล้เคียงกัน แนวโน้มปริมาณฝนปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2530 ดัชนีระดับภูมิภาค ช่วงเดือนตุลาคม 2557 – เดือนมีนาคม ปี 2558 ใกล้เคียงกับปี 2529/2530 คาดการณ์ได้ว่าในระยะ 6 เดือนข้างหน้า หรือระหว่างเดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนใกล้เคียงกับปี 2530 โดย หรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ย โดยจะมีปริมาณฝนสะสม 6 เดือน ประมาณ 1,000-1,200 มิลลิเมตร

เปรียบเทียบปริมาณฝนเฉลี่ยรายภาค

เปรียบเทียบฝนสะสมเดือนมิถุนายน ถึง พฤศจิกายน

เปรียบเทียบฝนสะสมเดือนมิถุนายน ถึง สิงหาคม

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 597.10 mm. 569.85 mm. -4.56%

เปรียบเทียบฝนสะสมเดือนกันยายน ถึง พฤศจิกายน

เปรียบเทียบปริมาณฝนสะสม 3 เดือน ระหว่างเดือนกันยายน-พฤศจิกายน ค่าเฉลี่ย 30 ปี 483.67 mm. ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี 517.49 mm. +6.99%

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนมิถุนายน-สิงหาคม ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี มิถุนายน 177 mm. 188 mm. +5.85% กรกฏาคม 189 mm. 116 mm. -38.62% สิงหาคม 231 mm. 266 mm. +15.15%

เปรียบเทียบปริมาณฝนรายเดือน เดือนกันยายน-พฤศจิกายน ค่าเฉลี่ย 30 ปี ปี 2530 ความแตกต่างจากค่าเฉลี่ย 30 ปี กันยายน 242 mm. 271 mm. +10.70% ตุลาคม 163 mm. 130 mm. -20.25% พฤศจิกายน 79 mm. 116 mm. +46.83%

ปริมาณน้ำไหลเข้า - เขื่อนภูมิพล เฉลี่ย 2553 2530 2556 2558 2557 ปี 2530 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมน้อยกว่าค่าเฉลี่ย และน้อยกว่าปี 2553 ซึ่งเป็นปีที่เกิดภัยแล้ง แต่มากกว่าปี 2556 และปี 2557 โดยส่วนใหญ่จะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนมากในช่วงเดือนกันยายนถึงตุลาคม

ปริมาณน้ำไหลเข้า - เขื่อนสิริกิติ์ 2553 เฉลี่ย 2557 2556 2558 2530 ปี 2530 ปริมาณน้ำไหลเข้าสะสมน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย และน้อยกว่าปี 2553 แต่มากกว่าปี 2556 และปี 2557 โดยส่วนใหญ่จะมีน้ำไหลเข้าเขื่อนมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน

สรุปผลคาดการณ์ปริมาณฝนปี 2558 ระหว่างเดือนพฤษภาคม-เดือนธันวาคม ปี 2558 ประเทศไทยจะมีปริมาณฝนค่อนข้างต่ำกว่าปกติ หรือใกล้เคียงกับปี 2530 เดือนมิถุนายน - สิงหาคม 2558 จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตอนกลางของประเทศ จะมีปริมาณฝนต่ำกว่าปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเหนือตอนบน ด้านตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง แต่ตอนกลางของภาคเหนือ ด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกบริเวณ จ.จันทบุรีและตราด จะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ เดือนกันยายน - พฤศจิกายน 2558 จะมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ โดยจะมีฝนตกชุกในช่วงเดือนกันยายน บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และภาคตะวันออก แต่ในช่วงเดือนตุลาคม จะมีฝนต่ำกว่าปกติเกือบทั่วทุกภาค ยกเว้น ภาคตะวันออก บริเวณ จ.ระยองและชลบุรี จะยังมีปริมาณฝนสูงกว่าปกติ