แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยงและการประเมินผลการควบคุมภายใน นางสาวเครือพันธุ์ บุกบุญ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง

แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข พ.ศ. 2560 - 2579

Phase 4 Phase 2 Phase 1 Phase 3 ร้อยละ 40 ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ร้อยละ 80 ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน 2560 - 2564 2565 - 2569 2570 - 2574 2575 - 2579 Phase 1 Phase 3 ร้อยละ 20 ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน ร้อยละ 60 ของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมินผลระบบการควบคุมภายใน

การกำกับดูแลองค์กร : Governance Risk Management PMQA Internal Control ISO IA ITA

หลักเกณฑ์และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมภายใน พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๗๙ บัญญัติให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยให้ถือปฏิบัติตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติ การควบคุมภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

หน่วยงานของรัฐ หมายถึง 1. ส่วนราชการ 2. รัฐวิสาหกิจ 3. หน่วยงานของรัฐสภา ศาลยุติธรรม ศาล ปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ และองค์กร อัยการ 4. องค์การมหาชน 5. ทุนหมุนเวียนที่มีฐานะเป็นนิติบุคคล 6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7. หน่วยงานอื่นของรัฐตามที่กฎหมาย กำหนด

ผู้กำกับดูแล หมายถึง ฝ่ายบริหาร หมายถึง บุคคล หรือคณะบุคคล ผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบ ในการกำกับดูแล หรือบังคับบัญชา ของหน่วยงานรัฐ ฝ่ายบริหาร หมายถึง ผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงานของรัฐ

ผู้ตรวจสอบภายใน หมายถึง การควบคุมภายใน หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงาน หรือดำรง ตำแหน่งอื่น ที่ทำหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานของ รัฐ การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ฝ่ายบริหาร และบุคลากร ของหน่วยงานของรัฐจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงาน ของหน่วยงานของรัฐจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุม ด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ

Hard Control Soft Control การควบคุมภายใน มี ๒ ลักษณะ Hard Control • นโยบาย ระเบียบปฏิบัติ • การกำหนดหน้าที่ • โครงสร้างองค์กร • การมอบอำนาจ ฯลฯ • ขั้นตอนการปฏิบัติงาน Soft Control • การปลูกฝังจิตสำนึก • ภาวะผู้นำ • การสร้างวัฒนธรรมความซื่อสัตย์สุจริต • การชื่นชม ยกย่อง • การบ่มเพาะให้เกิดจิตสำนึกสาธารณะ

กรอบแนวคิด COSO 2013

กระบวนการควบคุมภายใน Control Environment Activities Information & Communication Monitoring Risk Assessment The Process of Internal Control

COSO ERM : Enterprise Risk Management

ควบคุมภายใน กับ ความเสี่ยง Enterprise Risk Management Integrated Framework Internal Control Integrated Framework

ความแตกต่างระหว่างการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง วัตถุประสงค์ 1. การดำเนินงาน 2. การรายงานทางการเงินและไม่ใช่การเงิน 3. การปฏิบัติตามข้อกำหนด 1. เชิงยุทธศาสตร์ 2. การดำเนินงาน 3. การเงิน 4. การปฏิบัติตามข้อกำหนด องค์ประกอบ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจกรรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. กิจกรรมการติดตามผล 1. สภาพแวดล้อมภายใน 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ 3. การบ่งชี้เหตุการณ์ 4. การประเมินความเสี่ยง 5. การตอบสนองความเสี่ยง 6. กิจกรรมการควบคุม 7. สารสนเทศและการสื่อสาร 8. การติดตามและประเมินผล

ความแตกต่างระหว่างการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ขอบเขต ความเสี่ยงในกระบวนการปฏิบัติงาน ความเสี่ยงทั้งหมดที่มีผลกระทบต่อองค์กร ลักษณะงาน เน้นการควบคุมภายใน เน้นการประเมินความเสี่ยง การจัดการ ทำความเข้าใจและจัดการ กระบวนการควบคุมภายใน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานปกติ ทำความเข้าใจและจัดการความเสี่ยง จากปัจจัยภายในและภายนอก ที่มีผลกระทบต่อองค์กร โดยอาจจัดทำ เป็นแผนแยกต่างหากจากการดำเนินงานปกติหรือเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานตามปกติก็ได้

วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 1 วัตถุประสงค์ด้านการดำเนินงาน (Operations Objectives) ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การบรรลุเป้าหมายด้านการดำเนินงาน ด้านการเงิน การใช้ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกัน หรือลดความผิดพลาดของหน่วยงาน ตลอดจนความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยงาน 2 วัตถุประสงค์ด้านการรายงาน (Reporting Objectives) การรายงานทางการเงินและไม่ใช่การเงินที่ใช้ภายในและภายนอกหน่วยงาน การรายงานที่เชื่อถือได้ ทันเวลา โปร่งใส หรือข้อกำหนดอื่นของทางราชการ 3 วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ (Compliance Objective) การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ข้อกำหนดอื่นของทางราชการ

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ๕ องค์ประกอบ 1 สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) 2 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 3 กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 4 สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) 5 กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring Activities)

การควบคุมภายใน : วัตถุประสงค์และองค์ประกอบ ของการควบคุม วัตถุประสงค์ การควบคุม 1. ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การดำเนินงาน 2. ความเชื่อถือได้ ของรายงานทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน 3. การปฏิบัติ ตามข้อกำหนด 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 2. การประเมิน ความเสี่ยง 3. กิจกรรม การควบคุม 5. กิจกรรม การติดตามผล 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม

ต้องสร้างบรรยากาศให้ทุกระดับตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมภายใน ๑ สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) หมายถึง ปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินงานที่ส่งผลให้มีการควบคุมภายในมาปฏิบัติทั่วทั้งหน่วยงาน หน่วยงานของรัฐต้องแสดงให้เห็นถึงการยึดมั่นในคุณค่า ของความซื่อตรงและจริยธรรม ผู้กำกับดูแลแสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีโครงสร้างองค์กร สายการบังคับบัญชา อำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบที่เหมาะสม หน่วยงานของรัฐแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการสร้างแรงจูงใจ พัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ กำหนดให้บุคลากรมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบัติงาน ตามระบบการควบคุมภายในให้บรรลุวัตถุประสงค์ ต้องสร้างบรรยากาศให้ทุกระดับตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมภายใน

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ๒ การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นประจำ เพื่อระบุและวิเคราะห์ ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ศึกษา ทำความเข้าใจ * ความเสี่ยงอะไร * ส่งผลกระทบอย่างไร ระบุ * โอกาส * ผลกระทบ วิเคราะห์/จัดลำดับ * ยอมรับ * ป้องกัน/ควบคุม * ถ่ายโอน/กระจาย * หลีกเลี่ยง การจัดการ โครงสร้าง ระบบงาน คน ทรัพย์สิน งบประมาณ กำหนดวิธีจัดการความเสี่ยงนั้น คำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกและภารกิจภายในทั้งหมดที่มีผลกระทบ

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ประกอบด้วย ๔ หลักการ หน่วยงานของรัฐ 1) ระบุวัตถุประสงค์การควบคุมภายในที่ชัดเจน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์กร 2) ระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงครอบคลุมทั้งองค์กร และนำไปสู่การจัดการความเสี่ยงนั้น 3) ประเมินความเสี่ยงโอกาสที่จะเกิดทุจริตและมีผลต่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ต่าง ๆ ขององค์กร 4) ระบุและประเมินความเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ต่อระบบการควบคุมภายใน

การระบุความเสี่ยง Output Process Input * ปริมาณ * คุณภาพ * ระยะเวลา * บุคลากร ( จำนวนความรู้ ทักษะ การปฏิบัติงาน ) * งบประมาณ ( จำนวนเหมาะสม ) * เครื่องมือ อุปกรณ์ ทรัพย์สิน ( จำนวนการใช้งาน ) * ข้อมูล ( ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ) Process * โครงสร้างองค์กร / มอบหมายงาน ( เหมาะสมตรงตามตำแหน่ง ) * กฎหมาย / มาตรฐานงาน ( ครอบคลุม ชัดเจน ปฏิบัติได้ ) * ระบบงาน ( ชัดเจน เพียงพอ เหมาะสม ) * การบริหารจัดการ ( เป็นระบบ ชัดเจน โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ ) * การสื่อสาร / ประสานงาน / ประชาสัมพันธ์ ( ชัดเจน สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง ) * เทคโนโลยี ( เพียงพอ เหมาะสม ปฏิบัติงานได้จริง ) Output * ปริมาณ * คุณภาพ * ระยะเวลา * การใช้จ่าย * การใช้ประโยชน์ ( เป็นไปตามวัตถุประสงค์ / เป้าหมายของงาน / โครงการ )

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์ความเสี่ยง เกณฑ์การประเมินระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่ของโอกาสที่จะเกิด ระดับคะแนน โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง มากกว่า ๑5 ครั้งต่อปี 5 สูงมาก ๑๑ – ๑๕ ครั้งต่อปี 4 สูง ๖ – 1๐ ครั้งต่อปี 3 ปานกลาง 3 – 5 ครั้งต่อปี 2 น้อย ๑ – 2 ครั้งต่อปี 1 น้อยมาก

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์ความเสี่ยง เกณฑ์การประเมินระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ร้อยละของโอกาสที่จะเกิด ระดับคะแนน โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป 5 สูงมาก ร้อยละ 70 - 79 4 สูง ร้อยละ 60 - 69 3 ปานกลาง ร้อยละ 50 - 59 2 น้อย น้อยกว่าร้อยละ 50 1 น้อยมาก

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์ความเสี่ยง เกณฑ์การประเมินระดับผลกระทบของความเสี่ยง มูลค่าความเสียหาย ระดับคะแนน ผลกระทบ ตั้งแต่ 10,000,000 บาทขึ้นไป 5 สูงมาก ตั้งแต่ 250,000 ถึง 10,000,000 บาท 4 สูง ตั้งแต่ 50,000 ถึง 250,000 บาท 3 ปานกลาง ตั้งแต่ 10,000 ถึง 50,000 บาท 2 น้อย น้อยกว่า 10,000 บาท 1 น้อยมาก

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์ความเสี่ยง เกณฑ์การประเมินระดับผลกระทบของความเสี่ยง ความเสียหาย ระดับคะแนน ผลกระทบ กระทบกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร 5 สูงมาก กระทบกับหน่วยงานภายในองค์กรตั้งแต่ร้อยละ 7๕ ขึ้นไป 4 สูง กระทบกับหน่วยงานภายในองค์กรร้อยละ 50 – 75 3 ปานกลาง กระทบกับหน่วยงานภายในองค์กรร้อยละ 25 – 49 2 น้อย กระทบกับหน่วยงานภายในองค์กรน้อยกว่าร้อยละ 25 1 น้อยมาก

ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 5 10 15 20 25 ความเสี่ยงสูงมาก 4 ผลกระทบของความเสี่ยง 4 8 12 16 20 ความเสี่ยงสูง 3 3 6 9 12 15 ความเสี่ยงปานกลาง 2 2 4 6 8 10 ความเสี่ยงต่ำ 1 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ Risk Management Concept Controls Controls Effective controls ความเสี่ยง ก่อนการจัดการ (Inherent Risk) ความเสี่ยง ที่คงเหลือ (Residual Risk) แผนการแก้ไข Treatment Plan (s) Desired level of residual risk or risk appetite Acceptable Residual Risk

ความเสี่ยงที่จะเกิดการทุจริต องค์ประกอบที่เกิดการทุจริต 1. มีโอกาส (Opportunity) 2. การใช้เหตุผลที่เข้าข้างตนเอง (Rationalization) 3. มีแรงกดดัน (Pressure)

3 กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) นโยบาย การวางแผน การกำกับดูแล หมายถึง การปฏิบัติที่กำหนดไว้ในนโยบายและกระบวนการดำเนินงาน เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติ ตามการสั่งการจะลดหรือควบคุมความเสี่ยงได้ นโยบาย การวางแผน การกำกับดูแล การสอบทาน การรายงาน การสั่งการ การสื่อสาร การมอบหมายหน้าที่ การแบ่งแยกหน้าที่ การอนุมัติ อนุญาต การให้ความเห็นชอบ แนวทางการปฏิบัติงาน คู่มือ การให้ความรู้ ความเข้าใจ การจัดเก็บเอกสารอย่างเป็นระบบ การจดบันทึก การประมวลผลข้อมูล การตรวจนับ เป็นต้น ควรนำไปปฏิบัติให้ทั่วทุกระดับ ทุกกระบวนการปฏิบัติงาน หรือขั้นตอนการดำเนินงาน รวมถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงาน

กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) ประกอบด้วย ๓ หลักการ หน่วยงานของรัฐ 1) ระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุม เพื่อลดความเสี่ยง ในการบรรลุวัตถุประสงค์ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ 2) ระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุมด้านเทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ 3) กำหนดกิจกรรมการควบคุมไว้ในนโยบายเพื่อนำไป ใช้ในการปฏิบัติจริง

ประเภทของกิจกรรมการควบคุม (Control Activities) การป้องกัน แบ่งแยกหน้าที่ คุมด้วยรหัส กำหนดระดับอนุมัติ เก็บรักษาทรัพย์สินมีค่า การค้นพบ สอบทานรายงานผลลัพธ์ รายงานสิ่งผิดปกติ กระทบยอด ตรวจนับ Preventive Detective Mitigate Directive การแก้ไข กำหนดนโยบาย แนวทางคู่มือปฏิบัติงาน ฝึกอบรม จูงใจ การลดความเสี่ยง การควบคุมอัตโนมัติ(Automate Control)

01 02 03 04 ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุมตามการจัดการความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง ไม่มีกิจกรรมการควบคุม เนื่องจากการควบคุมที่มีอยู่เหมาะสมแล้ว 02 การป้องกัน / ควบคุมความเสี่ยง นโยบาย การวางแผน การกำกับดูแล การฝึกอบรม การมอบหมาย อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ แนวทางการปฏิบัติงาน 03 การจ้างที่ปรึกษา การจ้างเหมาบริการ การประกัน การเช่าครุภัณฑ์ โอน / การกระจายความเสี่ยง 04 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง ไม่มีกิจกรรมการควบคุม เนื่องจากไม่ดำเนินการในภารกิจนั้นแล้ว

การเงิน ไม่ใช่การเงิน อื่นๆ 4 สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) สารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับหน่วยงานของรัฐที่จะช่วยให้มีการดำเนินการตามการควบคุมภายใน ที่กำหนดเพื่อสนับสนุนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานของรัฐ หมายถึง การสื่อสารเกิดขึ้นได้ทั้งจากภายในและภายนอกและเป็นช่องทางเพื่อให้ทราบถึงสารสนเทศที่สำคัญ ในการควบคุมการดำเนินงาน ของหน่วยงานของรัฐ สารสนเทศ การเงิน ไม่ใช่การเงิน อื่นๆ ภายนอก ภายใน การสื่อสาร หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน ภายใน ภายนอก การสื่อสารจะช่วยให้บุคลากรในหน่วยงานมีความเข้าใจถึงความรับผิดชอบและความสำคัญของการควบคุมภายใน

สารสนเทศและการสื่อสาร ประกอบด้วย ๓ หลักการ หน่วยงานของรัฐ 1) จัดทำหรือจัดหาโดยใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องและมีคุณภาพ เพื่อสนับสนุนการควบคุมภายใน 2) มีการสื่อสารภายในเกี่ยวกับสารสนเทศ รวมถึงวัตถุประสงค์ และความรับผิดชอบที่มีต่อการควบคุมภายใน ๓) มีการสื่อสารกับบุคคลภายนอกเกี่ยวกับเรื่องที่มีผลกระทบ ต่อการปฏิบัติตามการควบคุมภายในที่กำหนด

INPUT  PROCESS  OUTPUT ประเมินผลทั้งสองวิธีร่วมกัน 5 กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring and Evaluation) การประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน การประเมินผลเป็นรายครั้ง หรือเป็นการ ประเมินผลทั้งสองวิธีร่วมกัน เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติ ตามหลักการในแต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายในทั้ง ๕ องค์ประกอบ หมายถึง ประเมินผลระหว่าง การปฏิบัติงาน ประเมินผล เป็นรายครั้ง CONTROL INPUT  PROCESS  OUTPUT ภารกิจ ประเมินผลทั้งสองวิธีร่วมกัน กรณีที่ผลการประเมินจะก่อให้เกิดความเสียหายให้รายงานต่อฝ่ายบริหารและผู้กำกับดูแลอย่างทันเวลา

กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring Activities) ประกอบด้วย ๒ หลักการ หน่วยงานของรัฐ 1) ระบุ พัฒนา และดำเนินการประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน หรือประเมินผลเป็นรายครั้ง 2) ประเมินผลและสื่อสารข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนของการควบคุมภายใน อย่างทันเวลา เพื่อให้ผู้รับผิดชอบสามารถสั่งการและแก้ไขได้อย่างเหมาะสม

ประโยชน์ของการควบคุมภายใน การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีระบบ การดำเนินงานเป็นไปตามมาตรฐาน ถูกต้องครบถ้วน ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด โปร่งใส ตรวจสอบได้ การบริหารและการใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด และคุ้มค่า โดยนำองค์ความรู้จากบุคลากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ข้อมูลรายงานทางการเงินมีความถูกต้องครบถ้วน เชื่อถือได้ เป็นเครื่องมือประกอบ การตัดสินใจของผู้บริหาร ๔) การดำเนินงานขององค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

ประโยชน์ของการควบคุมภายใน 5) มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ จุดควบคุมความเสี่ยง ระยะเวลาในการดำเนินงาน ที่ละเอียด ชัดเจน สามารถใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 6) ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงนำไปใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ของผู้เกี่ยวข้อง และผู้บริหารทุกระดับ 7) ประชาชน หรือผู้รับบริการได้รับประโยชน์จากการจัดวางระบบการควบคุม ภายในของส่วนราชการ เนื่องจากการปฏิบัติงานมีขั้นตอนที่ชัดเจน มีมาตรฐาน มีความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการ และมีโอกาสเลือกปฏิบัติได้น้อยลง

การจัดวางระบบการควบคุมภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ (ที่มีส่วนงานย่อยอยู่ภายใต้การกำกับดูแล)

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดวางระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการติดตามและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน โดย 1. ทั้งสองคณะต้องไม่มีชื่อซ้ำกัน 2. แต่งตั้งจากบุคลากรทุกกลุ่มงาน 3. กำหนดหน้าที่ให้ชัดเจน 4. คำสั่งต้องเป็นปัจจุบัน

2. จัดทำ Flowchart การปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายใน ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 2. จัดทำ Flowchart การปฏิบัติงานตามระบบการควบคุมภายใน  โดย 1. จัดทำให้ครบทุกกระบวนงาน 2. จัดทำให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐาน ที่กำหนด

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ ๓. ประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และสรุปเป็นแบบ ปค. 4 ส่วนงานย่อย โดย 1. ประเมินและสรุปผลการประเมิน ให้ครบทั้ง 5 องค์ประกอบ 2. จัดทำให้ครบทุกส่วนงานย่อย 3. ภายใน 40 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ (ประเมินได้ตลอดปี)

4. จัดทำและประเมินผลแบบสอบถามการควบคุมภายใน ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 4. จัดทำและประเมินผลแบบสอบถามการควบคุมภายใน โดย 1. ประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานที่กำหนด 2. ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ (ประเมินได้ตลอดปี)

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 5. นำความเสี่ยงที่มีความจำเป็น ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข จาก Flow Chart การประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน และแบบสอบถามการควบคุมภายในเข้าตารางวิเคราะห์ความเสี่ยง โดย 1. สรุปความเสี่ยงที่มีอยู่ซึ่งมีผลกระทบ ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร 2. จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 50 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 6. นำความเสี่ยงที่อยู่ในระดับสูงและสูงมากเข้าสู่รายงาน การประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 5 ส่วนงานย่อย) โดย 1. ดำเนินการตามรูปแบบที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด 2. จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 7. สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน เพื่อจัดทำรายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) โดย 1. ประเมินจากแบบ ปค. 4 ของทุกส่วนงานย่อย 2. ดำเนินการตามรูปแบบที่กระทรวงการคลังกำหนด 3. สรุปให้ครบทั้ง 5 องค์ประกอบ 4. ภายใน 50 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 8. สรุปรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ภาพรวมหน่วยงานของรัฐ (แบบ ปค. 5) โดย 1. รวบรวมจากทุกส่วนงานย่อย 2. ดำเนินการตามรูปแบบที่กระทรวงการคลังกำหนด 3. จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 65 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 9. จัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 1) โดย 1. ดำเนินการตามรูปแบบ ที่กระทรวงการคลังกำหนด 2. จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 70 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 10. หัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาลงนามในแบบ ปค. 1 แบบ ปค. 4 และแบบ ปค. 5 โดย 1. พิจารณาความถูกต้อง เหมาะสม 2. ลงนามในแบบต่างๆ ให้ครบถ้วน ภายใน 2 วันทำการ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 11. สอบทาน แบบ ปค. 1 แบบ ปค. ๔ และแบบ ปค. ๕ และจัดทำแบบรายงานการสอบทานการประเมินผล การควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปค. 6) โดย 1. ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง 2. ดำเนินการตามรูปแบบที่กระทรวงการคลังกำหนด 3. ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 5 วันทำการ 4. หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในลงลายมือชื่อ วัน เดือน ปี ที่รายงาน

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 12. จัดส่งรายงานผลการประเมินการควบคุมภายใน ประกอบด้วย แบบ ปค. 1 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 และแบบ ปค. 6 ต่อผู้กำกับดูแลและกระทรวงเจ้าสังกัด โดย 1. รวบรวมรายงานให้ครบถ้วนถูกต้อง จัดเรียงเอกสารตามลำดับเหตุการณ์ 2. จัดส่งรายงานภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 13. รวบรวมและสรุปรายงานผลการประเมินการควบคุมภายใน ที่ได้รับมาจัดทำ แบบ ปค. 2 แบบ ปค. 4 แบบ ปค. 5 ภาพรวมของกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้ง แบบ ปค. 6 ของทุกส่วนราชการ เสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดย 1. ดำเนินการตามรูปแบบที่กระทรวงการคลังกำหนด 2. จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 130 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 14. พิจารณาแบบ ปค. 6 และลงนามในแบบ ปค. 2 ปค. 4 และ ปค. 5 ภาพรวมกระทรวงสาธารณสุข โดย 1. พิจารณาความถูกต้องเหมาะสม 2. ลงนามภายใน 2 วันทำการ 3. หรือภายใน 133 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 15. จัดส่งรายงานผลการประเมินการควบคุมภายในที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ลงนามแล้ว (แบบ ปค. 2 ปค. 4 ปค. 5) ภาพรวมของกระทรวงสาธารณสุข และแบบ ปค. 6 ให้กับกลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง โดย 1. จัดส่งรายงานผลการประเมินการควบคุมภายในภาพรวมของกระทรวง สาธารณสุข ภายใน 1 วันนับแต่วันที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขลงนาม 2. หรือภายใน 135 วันนับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ

ขั้นตอนการจัดวางระบบควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ 16. จัดเก็บสำเนาเอกสารหลักฐานต่างๆ เข้าแฟ้ม โดยเรียงตามลำดับเหตุการณ์ โดย 1. รวบรวมเอกสารอย่างเป็นระบบ 2. ดำเนินการจัดเก็บโดยเรียงตามลำดับ 3. จัดเก็บไฟล์เอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งสำรองข้อมูล เพื่อป้องกันความเสียหาย

หลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ

สำหรับหน่วยงานของรัฐ รูปแบบการรายงานที่กระทรวงการคลังกำหนด สำหรับหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งหรือปรับโครงสร้างใหม่ ๑. หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายใน (แบบ วค. ๑) ๒. รายงานการจัดวางระบบควบคุมภายใน (แบบ วค. ๒)

สำหรับหน่วยงานของรัฐ แบบรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน รูปแบบการรายงานที่กระทรวงการคลังกำหนด สำหรับหน่วยงานของรัฐ แบบรายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน ๑. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (ระดับหน่วยงานของรัฐ) (แบบ ปค. ๑) ๒. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (กรณีกระทรวงเจ้าสังกัดส่งรายงานต่อ กระทรวงการคลัง หรือจังหวัดส่งรายงานในภาพรวมจังหวัดต่อกระทรวงการคลัง) (แบบ ปค. ๒) ๓. หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (กรณีหน่วยงานไม่อยู่ในสังกัดกระทรวง) (แบบ ปค. ๓) ๔. รายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๔) ๕. รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. ๕) ๖. รายงานการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปค. ๖)

การจัดส่งรายงาน (สำหรับหน่วยงานของรัฐ) ที่จัดตั้งหรือ ปรับโครงสร้างใหม่ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ผู้กำกับดูแล กระทรวงเจ้าสังกัด รายงานการจัดวางระบบควบคุมภายใน (แบบ วค. ๑ แบบ วค. ๒) ๖๐ วัน จัดส่ง นับแต่วันที่จัดวางระบบ ควบคุมภายในแล้วเสร็จ รายงาน การประเมินผล การควบคุมภายใน แบบ ปค. ๑ แบบ ปค. ๔ แบบ ปค. ๕ แบบ ปค. ๖ คณะกรรมการ ของหน่วยงานของรัฐ หัวหน้า หน่วยงานของรัฐ ผู้กำกับดูแล กระทรวงเจ้าสังกัด (กรณีเป็นบุคคลเดียวกัน ให้ถือว่ารับทราบ รายงานนั้นแล้ว) เสนอ พิจารณา จัดส่ง ลงนาม ๙๐ วัน นับแต่วัน สิ้นปีงบประมาณ/ ปีปฏิทิน รายงาน การประเมินผล การควบคุมภายใน แบบ ปค. 1 แบบ ปค. ๔ แบบ ปค. ๕ แบบ ปค. ๖ แบบ ปค. 2 แบบ ปค. ๔ แบบ ปค. ๕ แบบ ปค. ๖ ภาพรวมกระทรวง ผู้กำกับดูแล กระทรวงเจ้าสังกัด รวบรวม และสรุป จัดทำ จัดส่ง กระทรวงการคลัง ๑๕๐ วัน นับแต่ วันสิ้นปีงบประมาณ/ ปีปฏิทิน

การจัดส่งรายงานตามที่กระทรวงการคลังกำหนด หน่วยงานผู้รับผิดชอบ แบบรายงาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบ จัดส่งให้ ระยะเวลา แบบ วค. ๑ หน่วยงานของรัฐจัดตั้งใหม่/ปรับโครงสร้างใหม่ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ภายใน 60 วันนับแต่วันที่จัดวาง ระบบการควบคุมภายในแล้วเสร็จ แบบ วค. ๒ แบบ ปค. ๑ หน่วยงานของรัฐ กระทรวงการคลัง 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ/ปฏิทิน แบบ ปค. ๒ ภาพรวมกระทรวงภาพรวมจังหวัด กระทรวงเจ้าสังกัด จังหวัด กระทรวงเจ้าสังกัดและผู้กำกับดูแล/ ผู้ว่าราชการจังหวัด 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ/ปฏิทิน 180 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ/ปฏิทิน แบบ ปค. ๔ แบบ ปค. 4 ส่วนงานย่อย หน่วยงานส่วนภูมิภาค/ส่วนงานย่อย แบบ ปค. ๕ แบบ ปค. 5 ส่วนงานย่อย แบบ ปค. ๖ ผู้ตรวจสอบภายใน นับแต่วันสิ้นสุดปีงบประมาณ/ปฏิทิน แบบติดตาม ปค. 5 แบบติดตาม ปค. 5 ส่วนงานย่อย ส่งพร้อมกับรายงานการประเมินผล การควบคุมภายใน

ขอบคุณค่ะ ข้อมูลการติดต่อ นางสาวเครือพันธุ์ บุกบุญ นางสาวเครือพันธุ์ บุกบุญ หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกระทรวง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Website : http://auditor.ops.moph.go.th/ E – mail : audit.health.57@gmail.com เบอร์โทรศัพท์สำนักงาน 02 – 590 - 2341 ถึง 43 FAX : 02 – 590 – 2337 ผู้ประสานงาน : นางธัญชนก เสาวรัจ โทร. 085 – 4856981 นางสาวกรภัทร วันแก้ว โทร. 089 – 5577577 นางสาวพลอยชมพู จอมพารา โทร. 086 – 6671506 นายวรพจน์ จันทร์วงษ์ โทร. 086 – 0728111