DFD Data Flow Diagram Terminator Process Process Store Store

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
. COE : โปรแกรมบริการจัดการอู่ซ่อมรถยนต์
Advertisements

รู้จักกับเทคโนโลยี RFID เบื้องต้น
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
แบบฝึกหัด DataFlow Diagram
วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงบริการ
บทที่ 3 การวิเคราะห์โครงสร้าง Structure Analysis
การแสดงการทำงานของระบบด้วย Use Case Diagram
บทที่ 4 แบบจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Systems Analysis and Design
แบบฝึกหัดก่อนเรียน ให้นักศึกษาเขียนแผนภาพ Context Diagram จาก
ข้อสังเกตและข้อผิดพลาด ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
System Analysis and Design
การพัฒนาระบบงานโดยเทคนิคเชิงโครงสร้าง
บทที่ 5 แบบจำลองระบบ System Model.
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
Database Management System
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
Information Systems Development
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
ภาพรวมของระบบ. ระบบสารสนเทศสนับสนุนโครงการ รากฟันเทียมพระราชทานฯ DentIIS- Dental Implant Information System.
บทที่ 10 การออกแบบรายงาน Output Design
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
13 October 2007
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
บทที่ 9 วิศวกรรมการออกแบบ (Design Engineering)
Information System Development
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
Preventive Internal Control Training And Workshop
ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ (Electronic Commerce Payment System)
บทที่ 6 วิศวกรรมระบบ (System Engineering)
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
บทที่ 5 แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
Educational Information Technology
Chapter 6 Information System Development
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 13 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
13 October 2007
for Display Antique and Art Object Information
UML (Unified Modeling Language)
Multimedia Production
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
Database ฐานข้อมูล.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ขั้นตอน ที่ 2 การวิเคราะห์ระบบ
제 10장 데이터베이스.
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
Introduction to Structured System Analysis and Design
Use Case Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DFD Data Flow Diagram Terminator Process Process Store Store Jiraphan Computer Education, KMITNB

Module Objectives บอกหน้าที่ของการใช้ Data Flow Diagram (DFD).

Key Terms Data Flow, Data Flow Diagram Terminator, Sink, Source Process Data Packet Context Diagram

Focus of a DFD ใช้สัญลักษณ์ที่เข้าใจง่าย ผู้ใช้อ่านแล้วเข้าใจได้ง่าย เขียน DFD แต่ละระดับให้พอดีกับกระดาษหนึ่งหน้า 7 (บวกลบ 2) elements. ซอฟท์แวร์ที่ใช้เขียน DFD ในปัจจุบันมีใช้อย่างแพร่หลาย

Components of a DFD ส่วนประกอบของ DFD มีอยู่ 4 : - Process - Data Flow - Data Store - Data Source / Data Sink (Terminators) คำอธิบายรายละเอียดของ Data Flow และ Data Store จะอยู่ในส่วนของ Data Dictionary รายละเอียดของ Process จะเขียนอธิบายใน process specifications.

DFD Symbols การเขียน DFD โดยส่วนใหญ่จะมี 2 มาตรฐาน: (ดูใน Sheet) Gane & Sarson and DeMarco & Yourdon (ดูใน Sheet)

Process เปลี่ยน Inputs ให้เป็น Outputs ควรเป็น verb-object phrase (วลีสั้น ๆ ที่มีกริยา +กรรม) มีหมายเลขกำกับในแต่ละ Process

Data Flow แสดงถึงการเคลื่อนที่ของ Information จาก Component ไปสู่ Component ชื่อของ Data Flow แสดงถึงสิ่งที่เคลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง ชื่อของ Data Flow ต้องเป็นคำนาม (noun) - student - student_name, student_address

Data Flow (cont) เขียนประกอบกับลูกศรแสดงทิศทาง - first_student - student_with_grades_greater_c เขียนประกอบกับลูกศรแสดงทิศทาง ข้อมูลที่มีรูปแบบที่แตกต่างกัน อาจจะมีชื่อที่แตกต่างกันไป

Data Flow (cont) Data ที่เคลื่อนที่ผ่าน Process จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นชื่อที่ผ่าน Process ก็ต้องเปลี่ยนไปด้วย หัวลูกศรจะแสดงถึงทิศทางของ Data การไหลของข้อมูลอาจจะ converge หรือ diverge

Data Store กลุ่มของ Data ที่มีการบันทึกไว้ ชื่อที่ใช้ใน Data Store จะต้องเป็นพหูพจน์ (Plural) อาจจะมีลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกันไป

Flows From a Store Flow ที่มาจาก Data Store อาจจะ: ข้อมูลทุกส่วน ข้อมูลหลาย ๆ ส่วน ข้อมูลบางส่วน ข้อมูลที่ไหลมาจาก Data Store จะต้องไม่ถูกเปลี่ยนแปลงโดย Flow ของข้อมูล

Flows Into a Store Flow ที่ไหลเข้า Data Store อาจจะ: ข้อมูลทุกส่วน ข้อมูลหลาย ๆ ส่วน ข้อมูลบางส่วน Flow ที่ไหลเข้า Data Store จะต้องเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น บันทึกข้อมูล หรือ ลบข้อมูล

Terminators (Source / Sink) เป็นสิ่งภายนอกระบบที่มีการติดต่อกับระบบ Flow เป็น Interface ระหว่างระบบกับ Terminator จะต้องไม่ถูกเปลี่ยนแปลงโดยระบบ

Terminators (Source / Sink) cont. อยู่ภายนอกระบบ หรือกล่าวได้ว่าอยู่ภายนอกโดเมนของระบบ DFD จะไม่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง Terminator กับระบบ อาจจะเป็นคน ระบบอื่น ๆ อุปกรณ์ เช่น Sensor เป็นต้น

Guidelines for DFDs ใช้ชื่อที่มีความหมาย สื่อเข้าใจ: Processes: ส่วนใหญ่จะเป็นวลีที่มีกริยาผสมกรรม (verb-object phrase) ใช้คำศัพท์ที่ผู้ใช้คุ้นเคย Data Flows: ใช้คำนามตั้งชื่อ Data Flows Data Stores: ใช้คำนามตั้งชื่อ Data Stores โดยส่วนใหญ่จะเป็นพหูพจน์ของ Data Flows

Number the Processes ตัวเลขที่เขียนกำกับใน Process มิใช่ลำดับการทำงานใน DFD การเขียนตัวเลขกำกับใน Process จะใช้ในการสื่อถึงการแตกลำดับขั้น เพื่อให้รู้ว่า DFD Level ย่อยใด ๆ ถูกแตกจาก Process ใด เช่น Process 1.1, 1.2, 1.3 มาจาก Process ที่ 1.0 เป็นต้น

Avoid Complexity หลีกเลี่ยงความซับซ้อน และยุ่งยาก (จำ Magic Number 7) DFD ที่ Level ใด ๆ ควรเขียนพอดีบนกระดาษขนาด 8.5 x 11 นิ้ว (กระดาษ A4) ยกเว้นการเขียน Context Diagram บางครั้งอาจจะดูซับซ้อน ถือว่ายอมรับได้ แต่เมื่อแตกย่อยลงไปแล้ว จะต้องไม่ซับซ้อน

Redraw the DFD as Required ตรวจสอบทุกครั้งว่าเขียนได้ถูกต้องตรงตามมาตรฐาน เขียนจนกว่าจะเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้ เน้นความสวยงาม อ่านเข้าใจง่าย ใช้สัญลักษณ์ที่ตรงตามมาตรฐานเดียวกัน ขนาดและรูปร่างของ Componet สมส่วน เลือกใช้ Pipeline หรือ Flow ให้เหมาะสมและเข้ากัน หลีกเลี่ยงข้อมูลที่ไหลตัดกัน (Cross flow)

Curved VS Pipeline การเลือกใช้เส้น Flow แบบ Curved หรือ Pipeline นั้นให้ถือว่าเป็นข้อตกลงของผู้ร่วมเขียน DFD และความพอใจของกลุ่ม

Logically Consistent หลีกเลี่ยง Process แบบ “black hole” คือ Process แบบว่างเปล่า หลีกเลี่ยง Process แบบ “spontaneous generator” การเริ่มของชีวิตจากสิ่งที่ไม่มีชีวิต ตรวจสอบ Component ใด ๆ ที่ไม่ได้เขียนชื่อกำกับ ระมัดระวัง Data Store ที่เป็นแบบ read-only หรือ write-only

Guideline for DFD ใช้คำที่ตั้งชื่อในแต่ละ Component ที่มีความหมาย เขียนหมายเลขกำกับที่ทุก Process ตรวจสอบ DFD หลังจากเขียนเสร็จ เขียนให้อ่านง่าย เข้าใจได้ง่าย ใช้มาตรฐานเดียวกันทุก Level

Decomposition of DFDs: Leveling แต่ละ Level ของ DFD ต้องอธิบายรายละเอียดของ DFD ที่ระดับบนของ DFD นั้น Context diagram เป็น DFD ระดับบนสุด Level 0 จะเป็น DFD ที่ต้องเขียนต่อหลังจาก Context Diagram ซึ่งจำเป็นต้องมีทุกครั้ง

Levels Required Small systems: 2 – 3 levels Medium systems: 3 – 4 levels - Maximum 74 = 2,401 processes and stores Large systems: 5 – 8 levels - Maximum 78 = 5,764,801 processes and stores

ตย. Video Purchase Management System Video Rental System Customer Video Rental System Management Customer Accounting Video Purchase System Video Information New Customer Information Video Rental Item Customer ID Payment Returned Video Information Management Reports Rental Receipt Video Rental Card Monthly Bonus Card Yearly Bonus Card Total Cash Received

Use Case Diagram ใช้เพื่ออธิบายฟังก์ชันของระบบในมุมมองของกลุ่มผู้ใช้ระบบ เป็นเทคนิคในการสร้างแบบจำลองเพื่อใช้อธิบายหน้าที่ของระบบใหม่ หรือระบบปัจจุบัน ความต้องการของระบบจะได้จาก ลูกค้า/ผู้ใช้ และผู้พัฒนาระบบ

Use Case Diagram ใน Diagram จะประกอบด้วยสัญลักษณ์ต่อไปนี้ Use Case Actor Use case Relation System

Use Case Diagram Actor Use case WatchUser WatchRepairPerson ReadTime SetTime ChangeBattery Actor Use case SimpleWatch