การเคลื่อนไหวของพืช นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตอบสนองของพืช umaporn.
Advertisements

Ecological Balance Ecosystem Homeostatic System
Verb to be : is,am,are Positive ประโยคบอกเล่า โครงสร้าง = ประธานเอกพจน์ + is……… He ,She ,It + is………… He is a man. He is handsome. He is six years old.
พฤติกรรมองค์การ ( Organization Behavior )
ผศ.(พิเศษ)นพ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
Learning Theory Dr.Chawanun Charnsil.
CS Assembly Language Programming Period 17.
Form Based Codes Presentation
ส่วนประกอบของแบตเตอรี่
ส่วนประกอบของแบตเตอรี่
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
การตอบสนองของพืช.
Acute Erythroleukemia (FAB:M6)
7 QC Tools.
งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
จิตวิทยาการเรียนรู้.
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
(Symmetrical Components)
สายพานลำเลียง (Belt Conveyor)
บทที่ 14 การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพืช
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
RIHES-DDD TB Infection control
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
กล้องและอุปกรณ์การถ่ายภาพ
การป้องกันควบคุมโรคเขตเมืองแห่งชาติ
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
สัญลักษณ์.
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชการและ
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
สารควบคุมการเจริญเติบโต
ภาวะผู้นำ ทางการประกอบการธุรกิจ
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
การสัมมนา สถานการณ์ แนวทางและ แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2557
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นทางศิลปะ
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
SOP RIHES-DDD การควบคุมการแพร่เชื้อวัณโรค (Tuberculosis Infection control Version 2.0, 20 June 2016 Daralak T. 8 Jul 2016.
การเคลื่อนที่ของพวกโพรติสต์
Lec Soil Fertility and Plant Nutrition
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
ออยเกน โกลด์ชไตน์ ( Eugen Goldstein )
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
แนวคิดจิตสาธารณะในมิติเยาวชน
โรงพยาบาลดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่
ภาวะผู้นำ ทางการประกอบการธุรกิจ
คิดบวก ชีวิตบวก Positive Thinking, Positive Life
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 6 การเขียนผังงาน (Flowchart)
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
แนวทางการใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงวัตถุอันตรายทางอุตสาหกรรม
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
หน่วยการเรียนที่ 5 เทคนิคและวิธีการในการพัฒนาตน
กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางปะหัน.
การตอบสนองของพืช.
Decision: Multi Selection (if-else-if, switch)
การจัดการข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของโรงเรียน
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเคลื่อนไหวของพืช นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเติบโต (Growth movement) การเคลื่อนไหวของพืช การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเติบโต (Growth movement) 1. การเคลื่อนไหวอัตโนวัติ (Autonomic growth movement)  เป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเติบโตโดยอิทธิพลของสิ่งเร้าภายในเท่านั้น  สิ่งเร้าภายนอกไม่มีอิทธิพลใดๆ มี 2 ประเภท คือ 1.1 นิวเทชัน (Nutation)  การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเติบโต โดยการที่ปลายยอดโยกไปมาเนื่องจากลำต้น 2 ด้านเติบโตไม่เท่ากัน  การสั่นปลายยอดโยกไปมาของพืชตระกูลถั่ว

เช่น :- 1.2 เซอร์คัมนิวเทชัน (Circumnutation) คล้ายนิวเทชันแต่มีการบิดงอของพืชอย่างถาวร โดยไม่ต้องมีวัตถุให้บิดพันรอบ เช่น :-  การม้วนงอของมือเกาะตำลึงและฟักทองในอากาศ  การบิดงอขอเถาวัลที่ห้อยลงมาจากกิ่งไม้

2. การเคลื่อนเนื่องจากสิ่งเร้า หรือการเคลื่อนไหวพาราโทนิก (Stimulus หรือ Paratonic movement)  เป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดจากอิทธิพลของสิ่งเร้าภายนอก เช่น แสง อุณหภูมิ สารเคมี แรงดึงดูดโลก  จำแนกเป็น 2 ประเภท ตามทิศทางการตอบสนองต่อสิ่งเร้า คือ 2.1 ทรอปิซึม (Tropism)  เป็นการเคลื่อนไหวที่พืชเติบโตตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก  โดยทิศทางการตอบสนองสัมพันธ์กับสิ่งเร้า โดยการเจริญเข้าหาสิ่งเร้า (Positive) หรือหนีสิ่งเร้า (Negative)

ปลายยอดเจริญเข้าหาแสงเป็น Positive phototropism แบบของทรอปิซึม ชนิดสิ่งเร้า แบบของทรอปิซึม ตัวอย่าง แสง Phototropism ปลายยอดเจริญเข้าหาแสงเป็น Positive phototropism ปลายรากเจริญหนีแสงเป็น Negative phototropism แรงดึงดูดโลก Geotropism ปลายยอดเจริญหนีแรงดูดโลกเป็น Negative geotropism ปลายรากเจริญเข้าหาแรงดึงดูดโลกเป็น Positive geotropism

สารเคมี น้ำ สิ่งสัมผัส ชนิดสิ่งเร้า แบบของทรอปิซึม ตัวอย่าง สารเคมี Chemotropism ปลายยอดเจริญหนีสารเคมีเป็น Negative chemotropism ปลายรากและหลอดละอองเรณูเจริญเข้าหาสารเคมี Positive chemotropism น้ำ Hydrotropism ปลายยอดเจริญหนีน้ำ Negative hydrotropism ปลายรากเจริญเข้าหาน้ำเป็น Positive hydrotropism สิ่งสัมผัส Thingmotropism ต้นบวบ ต้นถั่วฝักยาว เจริญพันรอบหลัก

Phototropism  ที่ปลายยอดจะสร้างฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ได้มากที่สุดและจะแพร่จากปลายยอดสู่โคนต้นเรียก Basipetal movement  ถ้าให้แสงแก่ปลายยอดหรือปลายรากด้านใดด้านหนึ่ง ออกซินจะเคลื่อนที่หนีแสง โดยเคลื่อนที่จากด้านที่มีแสงมากไปสู่ด้านไม่มีแสง ดังนั้นด้านไม่มีแสงจะมีออกซินสะสมมาก  ออกซินเข้มข้นสูงที่ปลายยอดจะกระตุ้นการเติบโตของเซลล์ทำให้ปลายยอดเจริญเข้าหาแสง (Positive phototropism)  ส่วนออกซินเข้มข้นสูงที่ปลายรากกลับยับยั้งการเติบโตของเซลล์ทำให้ปลายรากเจริญหนีแสง (Negative phototropism) หมายเหตุ การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเติบโตของพืช จะไม่มีย้อนกลับ (Inreversible)

การหุบและการบานของกลีบดอก 2.2 การเคลื่อนไหวนาสติก (Nastic movement) กลุ่มเซลล์ด้านนอก กลุ่มเซลล์ด้านใน ก. ข. การหุบและการบานของกลีบดอก ก. การหุบ ข. การบาน

การคลี่บานของกลีบเกลี้ยงและกลีบดอกของกุหลาบ มะลิ จำปี เป็นต้น  การเคลื่อนไหวนาสติกเป็นการเคลื่อนไหวที่พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกโดยทิศทางการตอบสนองไม่สัมพันธ์กับทิศทางสิ่งเร้า กล่าวคือ ไม่มีการเจริญเข้าหาหรือหนีสิ่งเร้า เช่น :- การคลี่บานของกลีบเกลี้ยงและกลีบดอกของกุหลาบ มะลิ จำปี เป็นต้น  การหุบของกลีบดอกเกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านนอกเติบโตมากกว่าด้านใน ส่วนการบานของกลีบดอกเกิดจากกลุ่มเซลล์ด้านในเติบโตมากกว่าด้านนอก