การวัดทางสุขภาพ Health Measurement การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพภาคีเครีอข่ายด้านการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงและปัจจัย เสี่ยงโรคไม่ติดต่อในพื้นที่ต้นแบบในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ วันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอลืออำนาจ จังหวัดอำนาจเจริญ กมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล (PhD. Demography)
Outline Presentation การวัดพื้นฐาน : จำนวน สัดส่วน ร้อยละ อัตรา อัตราส่วน การวัดสุขภาพทั่วไป (general health measurement) การวัดการป่วยหรือโรค (morbidity or diseases measurement) การวัดการตาย (mortality measurement) การวัดสุขภาพองค์รวม (summary population health)
การวัดพื้นฐาน 1. จำนวน (number) จำนวน : การนับจำนวนของคน /เหตุการณ์ที่สนใจ ณ สถานที่ และเวลาหนึ่ง ตัวอย่าง 1. จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าตรวจ OPD ของ โรงพยาบาลไทยนิยม ในวันที่ 1 มีนาคม 2560 = 122 คน 2. จำนวนผู้ป่วยหญิงที่เข้าพักรักษา ณ หอผู้ป่วยสังเกตอาการ1 ระหว่างวันที่ 1-10 มีนาคม 2560 = 45 คน 3. จำนวนผู้ได้รับการตรวจ MRI สมอง โดยโรงพยาบาลศูนย์ ขอนแก่น ในรอบปีที่ผ่านมา = 800 ราย 4. จำนวนครั้งของการเกิดการระบาดไข้หวัดนกของประเทศจีน ระหว่างพ.ศ. 2558-2559 = 1 ครั้ง A
จำนวนทั้งหมดคนที่ศึกษา/สังเกต/เฝ้าระวัง 2. สัดส่วน (proportion) สัดส่วน = 𝐴 𝑈 (x 100 = percentage) ตัวอย่าง : ในวันที่ 1 มีนาคม 2560 ที่แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอก ให้บริการตรวจผู้ป่วยจำนวน 600 คน เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 120 คน สัดส่วนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของที่เข้าตรวจในแผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอก = 120 600 = 0.20 หรือ ร้อยละ 20 A Universal : จำนวนทั้งหมดคนที่ศึกษา/สังเกต/เฝ้าระวัง
จำนวนทั้งหมดคนที่ศึกษา/สังเกต/เฝ้าระวัง 3. อัตรา (rate) อัตรา = 𝐴 𝑈 x k (1,000 or 100,000) ตัวอย่าง อัตราตายอย่างหยาบ ของประเทศไทยปี 2559 = จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด ปี 2559 ประชากรกลางปี 2559 X 1,000 = 8.2 ต่อประชากรพันคน 2. อัตราตายทารก ของประเทศไทยปี 2559 = จำนวนทารกอายุต่ำกว่า 1ปีที่เสียชีวิต ปี 2559 จำนวนทารกเกิดมีชีพ ปี 2559 x 1,000 = 10.1 ต่อการเกิดมีชีพพันคน A Universal : จำนวนทั้งหมดคนที่ศึกษา/สังเกต/เฝ้าระวัง
จำนวนทั้งหมดคนที่ศึกษา/สังเกต/เฝ้าระวัง 4. อัตราส่วน (ratio) อัตราส่วน = 𝐴 𝐵 or (A: B or ? : 1) ตัวอย่าง 1. อัตราส่วนการสูบบุหรี่ผู้ชายต่อผู้หญิง ปี 2559 = ? คนสูบบุหรี่ 100 คน มีผู้ชาย 95 คน และผู้หญิง 5 คน =95: 5 =19:1 2. ทารกเกิดใหม่ มีเพศหญิงต่อเพศชาย ปี 2559 = ? ทารกเกิดทั้งหมด 350 คน เพศหญิง 190 คน เพศชาย 160 คน = 190: 160 = 1.2 : 1 (ทารถหญิงเกิด 5 คน ต่อ ทารถชายเกิด 4 คน) A B Universal : จำนวนทั้งหมดคนที่ศึกษา/สังเกต/เฝ้าระวัง
1. การวัดสุขภาพทั่วไป (general health measurement) ความหมาย “สุขภาพ” องค์การอนามัยโลก (1948) หมายถึง สภาวะแห่งความ สมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถึงการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข และ มิได้หมายความเฉพาะเพียงแต่การปราศจากโรคและทุพพลภาพเท่านั้น” ต่อมา ในที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2541 (ค.ศ. 1998) ได้มีมติให้เพิ่มคำว่า “Spiritual well-being” หรือ สุขภาวะทางจิต วิญญาณเข้าไป ในคำจำกัดความของสุขภาพ ดังนั้น เมื่อกล่าวถึงสุขภาพในปัจจุบันจะต้องครอบคลุมสิ่งที่สำคัญ 4 ประการคือ 1. ภาวะทั่วไปของร่างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรงสมบูรณ์ 2. มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ 3. จะต้องปราศจากโรคหรือความทุพพลภาพ 4. จะต้องเป็นผู้ที่สามารถดำรงตนและปฏิบัติภารกิจต่างๆ ในสังคมได้เป็นปกติสุข
การสร้างเครื่องมือวัด มีความหลากหลายของวัตถุประสงค์ : ข้อจำกัดของการวัด มีความหมายกว้าง : การสร้างเครื่องมือวัด มีความหลากหลายของวัตถุประสงค์ : และมีมิติเกี่ยวข้องหลากหลาย เช่น สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม เข้ามาเกี่ยวกับ สุขภาพ เปลี่ยนแปลงไป ตามเวลา ค่านิยมสังคม ปัจจุบันการวัดมุ่ง 1.Health status (ป่วย – ไม่ป่วย) 2. Health related quality of life (HRQoL) 3. ให้ Utility เพื่อพัฒนา Quality Adjusted Life Expectancy เครื่องมือมาตรฐานสากล ได้แก่ HRQoL (CDC) มีในการสำรวจ BRFSS บอกจำนวนวันที่ไม่สุขสบาย กาย ใจ หรือ กาย+ใจ WHO QoL Euro QoL (EQ5D) มีในการสำรวจ BRFSS แบบ EQ5D_3L Short form SF-36 Nottingham health profile Sickness Impact Profile (SIP)
2. การวัดการป่วยหรือโรค (morbidity or disease measurement) เป็นการวัดการป่วย ที่ต้องบอกสิ่งปกติ หรือบุคคลปกติ (normal) มาสู่การป่วย หรือ ผู้ป่วย (abnormal) ว่าเป็นอย่างไร มีให้การวินิจฉัยการป่วย หรือการให้โรคที่ป่วย (disease) code ตาม ICD-10 (International Classification Disease verion10) สิ่งที่ต้องคำนึงถึงของการวินิจฉัยโรค เมื่อป่วย คือ 1.เกณฑ์การวินิจฉัยการป่วย (statistical, clinical, prognostic, operation) ตัวอย่าง Schizophrenia วินิจฉัยจากเกณฑ์อาการแสดง 3 ใน 5 2.ธรรมชาติของการป่วยด้วยโรคนั้น โรคเบาหวาน : วินิจฉัย Fasting Blood Sugar > 126 mg% เสี่ยง 100 mg% ป่วย 126 mg% มีผู้รู้ตัว & มีผู้ไม่รู้ตัวว่าป่วย Pre DM
ตัวอย่าง การวัดการป่วย อัตราการป่วยรายใหม่ (Attack rate) อัตราการป่วยเฉพาะโรค (Specific morbidity rate) ความชุกโรค (Prevalence rate) อุบัติการณ์โรค (Incident rate)
Incidence & Prevalence เป็นพื้นฐานการวัดทางระบาดวิทยา Incidence อุบัติการณ์ เป็นการวัดเหตุการณ์ใหม่หรือผู้ป่วยรายใหม่ (new event/case) ที่ เกิดขึ้นในประชากรที่สังเกต (risk population) ในช่วงเวลาหนึ่ง คำสำคัญคือ การเปลี่ยนแปลง (change) เมื่อเปรียบเทียบ 2 จุดเวลา เวลา t1 t2 ปกติหรือไม่ป่วย ป่วย การวัด incidence มี 2 แบบ 1. cumulative incidence 2. incidence density or incidence rate
ของชุมชนหนึ่ง เป็นเวลา 2 ปี incidence density = 𝑁𝑜. 𝑜𝑓 𝑖𝑛𝑐𝑖𝑑𝑒𝑛𝑐𝑒 𝑐𝑎𝑠𝑒 𝑎𝑚𝑜𝑢𝑛𝑡 𝑜𝑓 𝑝𝑒𝑟𝑠𝑜𝑛−𝑡𝑖𝑚𝑒 𝑎𝑡 𝑟𝑖𝑠𝑘 ตัวอย่าง การเฝ้าระวังการเกิดโรคเรื้อรัง A ในผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1,000 คน ของชุมชนหนึ่ง เป็นเวลา 2 ปี cumulative incidence = 𝑁𝑜. 𝑜𝑓 𝑝𝑒𝑜𝑝𝑙𝑒 𝑤ℎ𝑜 𝑑𝑒𝑣𝑒𝑙𝑜𝑝 𝑡ℎ𝑒 𝑑𝑖𝑠𝑒𝑎𝑠𝑒 𝑁𝑜. 𝑜𝑓 𝑝𝑒𝑜𝑝𝑙𝑒 𝑖𝑛𝑖𝑡𝑖𝑎𝑙𝑦 𝑎𝑡 𝑟𝑖𝑠𝑘 𝑓𝑜𝑟 𝑖𝑡 ตัวอย่าง ปีเริ่มต้นมีประชากร 100 คน (ไม่ป่วย) แต่ว่าเสี่ยงต่อการเกิดโรค B ปีต่อมา พบมีผู้ป่วยโรค B จำนวน 6 คน อีก 94 คนไม่มีการป่วย cumulative incidence = 6/100 = 0.06 หรือ 6% per year จำนวนประชากร st จำนวนผู้เสียชีวิต จำนวน ผู้ป่วยใหม่ Incidence rate ปีที่ 1 1000 คน - 100 คน 100/1000 = 0.1 ต่อปี ปีที่ 2 900 คน 50 คน (25 person-year) 160 คน 160/875= 0.18 ต่อปี
สำรวจภาคตัดขวาง at a point time t1 Prevalence ความชุก เป็นการนับจำนวนการป่วยทุกราย ณ เวลาหนึ่ง (ผู้ป่วยรายใหม่ + ผู้ป่วยเก่า) Prevalence = 𝑁𝑜. 𝑜𝑓 𝑝𝑟𝑒𝑣𝑎𝑙𝑒𝑛𝑡 𝑐𝑎𝑠𝑒𝑠 𝑆𝑖𝑧𝑒 𝑜𝑓 𝑜𝑏𝑠𝑒𝑟𝑣𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛 𝑝𝑜𝑝𝑢𝑙𝑎𝑡𝑖𝑜𝑛 การวัด prevalence มี 2 แบบ 1. period prevalence 2. point prevalence Point prevalence สำรวจภาคตัดขวาง at a point time t1 ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ ∙ Period prevalence สะสมช่วงเวลา t1 – t2, 1 year
3. การวัดการตาย (mortality measurement) ความหมาย การหายไปของชีวิตอย่างถาวร เราให้การวินิจฉัยการป่วย การให้โรคที่เสียชีวิต(cause of death) code ตาม ICD-10 (International Classification Disease verion10) สิ่งที่ต้องคำนึงถึง ของการวินิจฉัยโรค คือ ความถูกต้องของการวินิจฉัยโรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิต ความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล : จำนวน เพศ .......
ตัวอย่างการวัด การตาย สัดส่วนการเสียชีวิตรายโรค (proportionate mortality) อัตราตายทารก (infant mortality rate) อัตราตายเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (under 5 years mortality rate) อัตราตายอย่างหยาบ (crude mortality rate) อัตราตายเฉพาะโรค (cause-specific mortality rate) อัตราตายรายกลุ่มอายุ (age-specific mortality rate) อัตราตายมารดา (maternal mortality rate)
4. การวัดสุขภาพองค์รวมระดับประชากร Composition index : การป่วย + การตาย : DALY (Disability adjusted life year) : สุขภาพ + การพิการ : QALY (Quality adjusted life year) : HALE (Health-adjusted life expectancy ) : DALE (Disability-adjusted life expectancy) สุขภาพ การเจ็บป่วย การตาย