เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
Advertisements

การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
Portfolio Balance Wealth Credit Availability Expectations Open Economy
ศ. 432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
Specific Factor Model ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
The Reveal of Dornbusch’s Exchange Rate Overshooting Theory
Group 1 Proundly Present
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
สัมนาเศรษฐกิจสมดุลใหม่ ทำไมต้องเศรษฐกิจสมดุลใหม่
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
การบริโภค การออม และการลงทุน
5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ
หน่วยที่ 4 การเงิน การธนาคาร และนโยบายการเงิน
Depreci ation. Wh at * การจัดสรรมูลค่าของ สินทรัพย์ในช่วงระยะเวลา การใช้งานของทรัพย์สิน.
บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST
ศ.432 ทฤษฎีและนโยบายการเงิน
REVENUE MANAGEMENT Presented by LM 10 ONLINE LOTTO.
บทที่ 4 ทฤษฎีอัตราดอกเบี้ย THEORY OF THE INTEREST
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 7 ราคา Price.
Flexible Budgeting and
การวิเคราะห์งบการเงิน
บรรยายวิชาการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ ระดับชำนาญการรุ่นที่ 10 วันที่ 2 มิถุนายน 2558 โดย สุดา ดุลยประพันธ์
การค้าระหว่างประเทศและกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
Money and Banking รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
- Introduction (punya)
บทที่ 5 เงื่อนไขเสมอภาคระหว่างประเทศ (International Parity Condition)
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
The Reveal of Dornbusch’s Exchange Rate Overshooting Theory
การจัดการการเงินการคลังท้องถิ่น
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การคำนวณต้นทุนผลผลิต วันที่ ก. พ
การเปิดรับความเสี่ยงจากธุรกรรมการค้า (Transaction Exposure)
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
กระทรวงศึกษาธิการ.
การจัดการคลังสินค้าและการกระจายสินค้า
ทฤษฏีและหลักการบริหารค่าตอบแทน
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
Chapter 12: Index Number เลขดัชนี.
(เครื่องมือทางการบริหาร)
บทที่ 4 การทำงบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
อุทธรณ์,ฎีกา.
การควบคุม (Controlling)
การจัดการเงินสด และหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด
การเงินระหว่างประเทศ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
นโยบายการคลัง รายวิชา : Week 06.
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
Topic 13 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร
โครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการเงินและการธนาคาร
ชีวิตใหม่ของฝ่ายจัดซื้อ
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น บทที่ 6 อุปสงค์ของเงินและ อุปทานของเงิน

หัวข้อ 6.1 ทฤษฎีการเงิน:อุปสงค์ต่อเงิน 6.2 อุปทานของเงิน 6.3 ดุลยภาพของตลาดเงิน

ทฤษฎีการเงิน:อุปสงค์ต่อเงิน

ทฤษฎีอุปสงค์ต่อเงินของสำนักคลาสสิก

1. ทฤษฎีปริมาณเงินอย่างหยาบ (The Crude Quantity Theory of Money) หรือทฤษฎีปริมาณเงินในรูปแบบอย่างง่าย (A Simple Version of the Quantity Theory of Money) - David Hume , Adam Smith , David Ricardo เป็นต้น - ข้อสมมติว่า คนมิได้มีความต้องการเงินเพื่อตัวของมันเองหรือเพื่อสะสมมูลค่า แต่ต้องการเงินเพราะเงินมีอำนาจซื้อ ดังนั้น การเพิ่มปริมาณเงินจะทำให้ระดับราคาเพิ่มขึ้น และมีอุปสงค์ต่อสินค้าเพิ่มขึ้น - เน้นบทบาทของเงินในฐานะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน - “ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินและระดับราคาเป็นความสัมพันธ์กันโดยตรงและเป็นสัดส่วนกัน” >>> ถ้าปริมาณเงินเพิ่มขึ้นเท่าตัวย่อมทำให้ระดับราคาเพิ่มขึ้นเท่าตัว >>> ในทางตรงกันข้ามถ้าปริมาณเงินลดลงเท่าตัว ระดับราคาจะลดลงเท่าตัวด้วย

เมื่อ M = ปริมาณเงินที่หมุนเวียนทั้งหมด (Money Supply) P = ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไป (General Price Level) k = ค่าคงที่

2. ทฤษฎีปริมาณเงิน : สมการแลกเปลี่ยน (The Quantity Theory : The Equation of Exchange) MV = PT M = ปริมาณเงิน (Money Supply) เน้นที่การแลกเปลี่ยนจึงเป็นเงินเงินในรูปตัวกลางในการแลกเปลี่ยน >>> Currency (ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์) + Demand Deposit (เงินฝากกระแสรายวัน) V = อัตราการหมุนเวียนของเงิน (Velocity of Circulation of Money) คือ การหมุนเวียนเปลี่ยนมือไปของเงินจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งในแต่ละปี ถ้าเศรษฐกิจรุ่งเรืองอัตราการหมุนเวียนจะมากกว่าในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ แต่ในระยะเวลาอันสั้นอัตราการหมุนเวียนของเงินถือได้ว่าคงที่ T = ปริมาณการค้า (Volume of Transactions) หรือปริมาณสินค้า ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายตัว เช่น ทรัพยากรในทางเศรษฐกิจ ในระยะสั้นเชื่อว่าคงที่

P = ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไป (General Price Level) - ทั้ง 2 ด้านคือสิ่งเดียวกัน คือ มูลค่าของเงินที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเพื่อให้ได้สินค้า (MV) เท่ากับ มูลค่าของสินค้าทั้งหมดที่ใช้แลกเปลี่ยนเพื่อให้ได้มาซึ่งเงิน (PT) - สมการแลกเปลี่ยนไม่ใช่ทฤษฎี แต่เป็นความจริง กล่าวคือ ปริมาณเงิน (M) คูณกับ อัตราการหมุนเวียน (V) จะเท่ากับ ปริมาณสินค้าและบริการ (T) คูณกับ ระดับราคาสินค้าและบริการโดยเฉลี่ย (P)

3. ทฤษฎีปริมาณเงิน : รูปแบบการซื้อขายแลกเปลี่ยน (The Quantity Theory : The Transaction Approach) - Irving Fisher - สมการ เมื่อ M = ปริมาณเงินที่หมุนเวียนทั้งหมด (Money Supply) คือ ธนบัตร+เหรียญกษาปณ์(Currency) M/ = ปริมาณเงินฝากที่จ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรือเงินฝากกระแสรายวัน (Demand Deposit ) V = อัตราการหมุนเวียนของเงินธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ V/ = อัตราการหมุนเวียนของเงินฝากกระแสรายวัน P = ระดับราคาสินค้าโดยเฉลี่ย T = ปริมาณธุรกรรมทั้งสิ้นหรือปริมาณสินค้าและบริการทั้งสิ้น

M + M/ = ปริมาณเงิน V + V/ = อัตราการหมุนเวียนของเงิน - M และ M/ >> M มีอิทธิพลโดยตรงต่อ P และมีอิทธิพลเหนือ M/ >> ภายใต้ภาวะเศรษฐกิจปกติในระยะสั้น M เปลี่ยนไปทำให้ M/ เปลี่ยนไปในทิศทางเดียวกันและเป็นสัดส่วนกัน >> M และ M/ เป็นอิสระจาก V และ V/ - V ในระยะยาวถูกกำหนดโดยอุปนิสัย การใช้จ่ายเงินของบุคคล ระบบการจ่ายเงินของสังคม ความหนาแน่นของประชากร ความสะดวกรวดเร็วในการสื่อสาและการคมนาคม เป็นต้น ภายใต้ภาวะปกติค่า V และ V/ จะมีลักษณะคงที่ และเป็นอิสระจากปัจจัยอื่น

- P เป็นตัวแปรที่ถูกกำหนดโดยปัจจัยอื่นในสมการแลกเปลี่ยน กล่าวคือ P ถูกกำหนดโดย M , V และ T แต่ P จะไม่มีผลกระทบต่อตัวแปร M , V และ T - T ถูกกำหนดโดยจำนวนประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ และพัฒนาการแห่งความรู้และวิทยาการ ซึ่งเปลี่ยนแปลงช้ามาก ในระยะสั้น T จึงคงที่ เนื่องจากระบบเศรษฐกิจมีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment)

ทฤษฎีปริมาณเงิน MV = PT เมื่อ V = คงที่ T = คงที่ M = 1/V PT หรือ P = MV/T

ดังนั้นจะเห็นว่า ระดับราคามีความสัมพันธ์กับปริมาณเงิน ถ้า M เพิ่ม P สูง M ลด P ต่ำ

4. ทฤษฎีปริมาณเงิน : วิเคราะห์จากรายได้ (The Quantity Theory : Income Approach) - วิเคราะห์ปัจจัย T ให้แคบลง โดยพิจารณาเฉพาะการซื้อขายที่ก่อให้เกิดรายได้ และให้ T แทนด้วย Y ซึ่งเป็นรายการซื้อขายสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย จึงเป็นการป้องกันการนับซ้ำ - สมการ MVy = Pyy ; แทน Ty ด้วย y เมื่อ M = ปริมาณเงิน Vy = จำนวนรอบของการหมุนเวียนของเงินแต่ละหน่วยที่ถูกใช้ไปในการซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายในงวดเวลาที่พิจารณา Py = ดัชนีราคาสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นในรอบระยะเวลาที่พิจารณา

y = ปริมาณสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นในรอบระยะเวลาที่พิจารณา หรือผลิตภัณฑ์ประชาชาติแท้จริง (Real GNP) - Vy มีการเปลี่ยนแปลงบ้างแต่เป็นไปอย่างเชื่องช้า ในระยะสั้นจึงถือว่าคงที่ Vy เป็นอิสระไม่ขึ้นกับ M - y อยู่ในระดับการจ้างงานเต็มที่ >> y จึงคงที่ - จาก MVy = Pyy ทำให้ Py แปรผันโดยตรงกับ M ในสัดส่วนเดียวกัน

5. ทฤษฎีปริมาณเงิน : รูปแบบการถือเงินสด (The Quantity Theory : Cash-Balance Approach) - สำนักเคมบริดจ์ (The Cambridge School) - อาศัยการวิเคราะห์สมการแลกเปลี่ยน เช่นเดียวกับ Fisher แตกต่างจาก Fisher ตรงที่ Fisher เน้นเงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน แต่ Cambridge เน้นเงินเป็นอำนาจซื้อชั่วคราวหรือเครื่องรักษามูลค่า - ให้ k = อัตราส่วนความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายในระหว่างปี - สมการ ให้

และถ้าให้ T แทนด้วย y จะได้ เมื่อ M , P , T , y มีคำจำกัดความเช่นก่อนหน้า -ที่ดุลยภาพของตลาดเงินอุปทานของเงิน (MS ) เท่ากับ อุปสงค์ต่อเงิน (Md) จะได้ ; = อุปสงค์ต่อเงินแท้จริง

- นอกจากนี้แล้ว สำนัก Cambridge ยังเห็นว่า ความต้องการถือเงิน() ขึ้นอยู่กับ ความมั่งคั่ง , รายได้ , ค่าเสียโอกาส ตลอดจนปัจจัยอื่น ๆ - function ความต้องการถือเงินของสำนัก Cambridge เมื่อ Md = ความต้องการถือเงิน W = ความมั่งคั่ง (Wealth) Py = รายได้ที่เป็นตัวเงิน (money income) i = อัตราดอกเบี้ยที่เป็นตัวเงิน (nominal interest rate) rk = ผลตอบแทนจากเครื่องมือประเภททุนรวมทั้งสินค้าอุปโภคชนิดคงทนถาวร rc = ผลตอบแทนของสินค้า U = อรรถประโยชน์ของเงิน (utility of money) X = ปัจจัยอื่น ๆ เช่น อุปนิสัยใจคอของคน , ความสะดวกรวดเร็วของการสื่อสารคมนาคม , ความหนาแน่นของประชากร เป็นต้น

ทฤษฎีความต้องการถือเงินตามแนวคิดของ จอห์น เมนาร์ด เคนส์ (John Meynard Keynes)

ทฤษฎีความต้องการถือเงินตามแนวคิดของ จอห์น เมนาร์ด เคนส์ (John Meynard Keynes) - ความต้องการถือเงิน มี 3 ประการ (1) ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย (Transaction Demand for Money) - เนื่องจากรายรับกับรายจ่ายไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน กล่าวคือ รายได้เป็นครั้งคราว แต่รายจ่ายเกิดขึ้นทุกวัน - ปัจจัยสำคัญที่กำหนดความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย ได้แก่ รายได้ โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ถ้ารายได้เพิ่มสูงขึ้น อุปสงค์ต่อเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอยจะเพิ่มขึ้น - ปัจจัยรองลงมาได้แก่ อัตราดอกเบี้ย ซึ่งเป็นต้นทุนค่าเสียโอกาสของการถือเงิน (Opportunity Cost) มีความสัมพันธ์กันในทิศทางตรงกันข้าม

(2) ความต้องการถือเงินไว้ใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน (Precautionary Demand for Money) - สำหรับเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด เช่น อุบัติเหตุ การเจ็บป่วยกระทันหัน หรือการตกงาน เป็นต้น - ขึ้นอยู่กับรายได้ (ในทิศทางเดียวกัน) เป็นสำคัญ และขึ้นอยู่กับอัตราดอกเบี้ย (ในทิศทางตรงกันข้าม) ให้ Mt = ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย + ความต้องการถือเงินเพื่อเหตุฉุกเฉิน

Y r Mt/( r ) Mt Mt/( y ) Mt Mt// ( y ) r0 Mt// (r ) Y0 Mt0 Mt1 Mt2 Mt Mt0 Mt1 Mt2 Mt (ก) (ข)

(3) ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไร (Speculative Demand for Money) - ที่มาแนวคิดจากสูตร เมื่อ = มูลค่าของหลักทรัพย์ หรือราคาหลักทรัพย์ = ผลตอบแทนของหลักทรัพย์ (ซึ่งกำหนดให้คงที่) r = อัตราดอกเบี้ยตลาด (%) ถ้ามูลค่าหลักทรัพย์ 100 บาท ผลตอบแทน 10 บาทต่อปี (10%) อัตราดอกเบี้ยตลาด(%) ราคาหลักทรัพย์ 8 20

- อัตราดอกเบี้ยและราคาหลักทรัพย์มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกัน >> ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไรมีไว้เพื่อความมั่งคั่ง (Wealth) หรือสะสมค่า (Store of Value) >> เก็งกำไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ >> มีความสัมพันธ์กับอัตราดอกเบี้ยในทิศทางตรงกันข้ามกัน เช่น ถ้าอัตราดอกเบี้ยต่ำ ค่าเสียโอกาสจะต่ำ ราคาหลักทรัพย์จะสูง (และจะไม่สูงไปกว่านี้อีกแล้วหากอัตราดอกเบี้ยต่ำสุดแล้ว ต่อไปราคาหลักทรัพย์ก็จะลดลง) คนก็จะถือเงินเพื่อเก็งกำไรเพิ่มขึ้น (ถือเงินไว้เฉยๆไม่ซื้อหลักทรัพย์) - ถ้าให้ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไรแทนด้วย Ms

r r0 r1 Ms Ms0 Ms1

- รูปกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการถือเงิน กับ อัตราดอกเบี้ย - ความต้องการถือเงินรวม(Md) = ความต้องการถือเงินเพื่อใช้สอยและเหตุฉุกเฉิน(Mt) + ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกำไร(Ms) Md = Mt + Ms - รูปกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการถือเงิน กับ อัตราดอกเบี้ย r r Mt r0 r0 b a a b A/ r1 a b r1 a/ b/ B/ Ms MD Ms0 Mt Ms1 Mt,Ms MD0 MD1 MD

7. ทฤษฎีปริมาณเงินตามแนวคิดของ มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) - เริ่มจากความต้องการถือเงินของบุคคลที่เหมือนกับที่จะถือสินค้าอื่นๆ >>> เงินคือสินทรัพย์ >>> หลักความต้องการเลือก - ฟังก์ชั่นความต้องการถือเงินของฟรีดแมน(อ้างใน สินีนาฎ) เมื่อ Md = ความต้องการถือเงิน U = ความพอใจในการถือเงิน (+) P = ระดับราคา (+) y = ระดับรายได้แท้จริง (+) i = อัตราดอกเบี้ย >> เป็นค่าเสียโอกาสของการถือเงิน (-) = อัตราเงินเฟ้อ >> อำนาจซื้อของเงิน (-)

อุปทานของเงิน

ทฤษฎีเกี่ยวกับอุปทานของเงิน - นิยามปริมาณเงินที่แตกต่างกัน (1) แนวคิดสมัยดั้งเดิม - เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน - M1 = Currency + Demand Deposit (2) แนวคิดของสำนักชิคาโก - Milton Friedman - M2 = M1 + เงินฝากประจำในธนาคารพาณิชย์ (Time Deposit) (3) แนวความคิดของ John G. Gurley & Edword S. Shaw - M = Currency + Demand Deposit + Time Deposit + สิทธิเรียกร้องต่อสถาบันการเงินทุกชนิดทุกประเภท (เช่น หุ้นต่างๆ) (4) แนวคิดของธนาคารกลาง - M = สินเชื่อทั้งหมด (Total Liability)

- MS = M1 = Currency + Demand Deposit - MS เป็น Exogeneous variable คือ ตัวแปรที่ถูกกำหนดมาจากข้างนอก เป็นตัวแปรค่านอกระบบ โดยเป็นตัวแปรที่ถูกกำหนดโดยเจ้าหน้าที่ทางการเงินและการสร้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ - MS ไม่ขึ้นอยู่กับรายได้ และอัตราดอกเบี้ย r (อัตราดอกเบี้ย) MS (ปริมาณเงิน) MS

- ฟังก์ชั่นของ MS MS = f( C , BD , LRR , OMO , FP , BOP) เมื่อ C = Currency (ธนบัตร + เหรียญกษาปณ์) BD = Bank Deposit หรือ Demand Deposit (เงินฝากกระแสรายวัน) LRR = Legal Reserve Retio (อัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย) OMO = Open Market Operation (การซื้อขายหลักทรัพย์ของรัฐบาล เช่น พันธบัตรรัฐบาล) FP = Fiscal Policy (นโยบายการคลังของรัฐบาล) BOP = Balance of Payment (ดุลการชำระเงิน)

อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ = I0 อุปสงค์ของเงิน = อุปทานของเงิน I2 I0 I1 E D M

ผลของการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ย กรณีปริมาณเงินเพิ่ม M เป็น M1 เส้นอุปทานของเงินเลื่อน ไปทางขวามือของเส้นเดิม อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ ลดลงจาก L0 เป็น L1 I0 I1 E D E1 ปริมาณเงิน M M1

ผลของการเปลี่ยนแปลงปริมาณเงิน กรณีปริมาณเงินลดลง ปริมาณเงินลดลง เส้นอุปทานจะเลื่อนไปทางซ้ายมือของเส้นเดิม อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพจะสูงขึ้น

อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเงิน ปริมาณเงิน เพิ่มขึ้น ลดลง ระดับราคาสูงขึ้น อัตราดอกเบี้ยลดลง ระดับราคาลดลง อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น การใช้จ่ายบริโภค + ลงทุนเพิ่มขื้น การใช้จ่ายบริโภค + ลงทุนลดลง เงินเฟ้อ เงินฝืด ค่าครองชีพสูง การว่างงาน

ผลกระทบของการใช้นโยบายการเงิน ระดับราคา นโยบายการเงินขยายตัว ระดับราคาสูงขึ้น (เข้มงวด) (ลดลง) อัตราดอกเบี้ย นโยบายการเงินขยายตัว อัตราดอกเบี้ยลด (เข้มงวด) (สูง) การค้าระหว่างประเทศ นโยบายการเงินขยายตัว การนำเข้าเพิ่มขึ้น

ผลกระทบของการใช้นโยบายการเงิน การเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ นโยบายการเงินขยายตัว เงินทุนไหลออกเพิ่มขึ้น (เข้มงวด) (ลดลง) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ นโยบายการเงินขยายตัว บาทอ่อน (เข้มงวด) (แข็ง)

The END